ข้อสังเกตคำบาลีและสันสกฤต หลักสังเกตทั่วไป ส่วนมากเป็นคำหลายพยางค์ เช่น บิดา อาคาร กุญชร สวรรค์ ฯลฯ มีตัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา เช่น พยัคฆ์ รัชกาล สัญญา มัตสยา ฯลฯ มีตัวการันต์ เช่น สังข์ นิตย์ สัตว์
หลักสังเกตเฉพาะคำบาลี ๑. มีตัวสะกดและตัวตาม ซึ่งเป็นพยัญชนะวรรคเดียวกัน ดังนี้ ตัวสะกด ตัวตาม ตัวอย่าง พยัญชนะแถวที่ ๑ พยัญชนะแถวที่ ๑ , ๒ อุกกาบาต , สักกะ , ทุกข์ , มัจฉา พยัญชนะแถวที่ ๓ พยัญชนะแถวที่ ๓ , ๔ อัคคี , พยัคฆ์ , วัชชี , มัชฌิม พยัญชนะแถวที่ ๕ พยัญชนะแถวที่ ๑ , ๒ , ๓ , ๔ , ๕ สัมปทาน , สัมผัส , พิมพ์ ,คัมภีร์ ,สัมมนา
๒. พยัญชนะวรรค ฏะ นิยมตัดตัวสะกดเดิม แล้วใช้ตัวสะกดตามแทน เช่น ๒. พยัญชนะวรรค ฏะ นิยมตัดตัวสะกดเดิม แล้วใช้ตัวสะกดตามแทน เช่น รัฏฐ์ เขียนเป็น รัฐ ทิฏฐิ ทิฐิ วัฑฒน์ วัฒน์ วุฑฒิ วุฒิ อัฏฐิ อัฐิ อัฑฒจันทร์ อัฒจันทร์
ตัวสะกดและตัวตามที่เป็นพยัญชนะเดียวกัน บางทีก็ตัดเสียตัวหนึ่ง เช่น ตัวสะกดและตัวตามที่เป็นพยัญชนะเดียวกัน บางทีก็ตัดเสียตัวหนึ่ง เช่น เขตต์ เขียนเป็น เขต จิตต์ จิต บุญญ์ บุญ นิสสัย นิสัย ยุตติ ยุติ วิชชา วิชา
๔. นิยมใช้ ฬ เช่น กีฬา , จุฬา , โอฬาร , อาสาฬหบูชา อัญญประกาศ เขียนเป็น อัญประกาศ อิสสระ อิสระ อนุสสรณ์ อนุสรณ์ ๔. นิยมใช้ ฬ เช่น กีฬา , จุฬา , โอฬาร , อาสาฬหบูชา ๕. ไม่มี ศ , ษ ๖. ไม่มี ฤ , ฤา , ไอ , เอา ๗. ไม่มี รร ( หัน ) ๘. ไม่นิยมคำควบกล้ำ
๙. มีสระ ๘ ตัว ได้แก่ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ สังเกตจากการใช้ “ ริ ” เช่น อริยะ, ภริยา, จริยา, อัจฉริยะ ,อิสริยะ ๑๑. สังเกตจาก
หลักสังเกตเฉพาะคำสันสกฤต มีสระ ๑๔ ตัว ได้แก่ อะ อา อิ อี อุ อู เอ โอ ไอ เอา ฤ ฤา ฦ ฦา ใช้ ร และ รร หัน เช่น อารยะ , กรรม , สวรรค์ , ภรรยา ,จรรยา , หรรษา , อัศจรรย์ , ไอศวรรย์ สังเกตจากการใช้ ส , ศ , ษ “ส” ใช้นำหน้าพยัญชนะวรรค ตะ ( ต ถ ท ธ น ) เช่น พัสดุ สถาน อัสดง สถิต สถาปนา “ ศ , ษ” มีใช้เฉพาะ ภาษาสันสฤตเท่านั้น เช่น ศีรษะ , อภิเษก ๔. สังเกตจากการใช้ ฑ เช่น กรีฑา , ครุฑ , จุฑา ๕. สังเกตจากการใช้ ณ ตามหลัง ร เช่น พราหมณ์ , นารายณ์ , อรัณย์ , อรุณ , ปราณี
หลักสังเกตเฉพาะคำสันสกฤต ( ต่อ ) ๖. สังเกตจากการใช้ “ เคราะห์” (ครุห) เช่น วิเคราะห์ , สังเคราะห์ , อนุเคราะห์ ๗. ไม่มีหลักการสะกดตัวแน่นอน พยัญชนะตัวหนึ่งสะกดพยัญชนะตัวใด ในวรรค จะ ตามก็ได้ หรือไม่มีตัวตามก็ได้ เช่น อัคนี , มัตสยา , อาชญา , สัปดาห์ , พนัส ๘. ใช้ ฤา ,ฤา ,ไอ ,เอา เช่น ฤทธิ์ , ฤาษี ,ไมตรี ,เสาร์ ๙. นิยมใช้คำควบกล้ำ เช่น จักร, สมัคร, เพชร, มิตร, ยนตร์ สมุทร, อินทร์, ทรัพย์, สัตย์, อัศวะ, พิศวาส
แนวการเทียบคำบาลีสันสกฤต กัญญา กันยา กัป ( ป์ ) กัลป์ การุญ ( ญ์ ) การุณย์ กิตติ กีรติ , เกียรติ กีฬา กรีฑา ขณะ กษณะ ขัตติยะ กษัตริย์
บาลี สันสกฤต ขัย กษัย ขีระ กษีระ , เกษียร ครุฬ ครุฑ จักขุ จักษุ จุฬา จุฑา ฐาน สถาน ติณ ตฤณ
บาลี สันสกฤต ถาวร สถาวร , สถาพร ธัม ( ม์ ) ธรรม นักขัต ( ต์ ) นักษัตร นิจ ( จ์ ) นิตย์ บุคคล บุทคล บุญ ( ญ์ ) บุณย์ บุปผา บุษบา
บาลี สันสกฤต ปฐม ประถม ปัจจุบัน ปรัตยุบัน ปัจฉิม ปัศจิม ,ปรัศจิม ปัญญา ปรัชญา
บาลี สันสกฤต อริยะ อารยะ อัจฉริยะ อัศจรรย์ อัจฉรา อัปสร อัต (ต์) , อัตตา อาตมัน ,อาตมา รัตติ ราตรี