การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ของนักศึกษาระดับ ปวส

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
Advertisements

การศึกษาสาเหตุของผู้เรียนที่มีต่อการไม่ส่ง งานตามกำหนดระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปวช. ปีที่ 1 รอบบ่ายกลุ่ม 1 วิทยาลัย เทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน วิทยาลัยเทคโนโลยี
แผนกบริหารธุรกิจ โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี ”
นางปราณี ธำรงสุทธิพันธ์
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
นางเจริญสุข ผ่องภักดี
ศึกษาการแก้ปัญหาพฤติกรรมการไม่ตั้งใจเรียน
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ชื่อเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาสอบไม่ผ่านเกณฑ์คะแนน 60% ในรายวิชาหลักการตลาด โดยใช้วิธีการสอน ( เพื่อนช่วยเพื่อน) ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1/3.
นายวิชชุกร บัวคำซาว วิทยาลัยเทคโนโลยีเมโทร จังหวัดเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
ผู้วิจัย นางสาวจันทรา แซ่หลิม สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
นางพรพรรณ สนทอง โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้ วิชาไมโครคอนโทรเลอร์ โดยใช้สื่อการเรียนการสอนเรื่อง ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม 7 Segment สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการใช้สื่อ CAI ในการเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์
นางสาวพรวิภา จารุเดช วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
นางสาวปัทมา ปวงหล้า วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
นางสาวสุกัญญา กันศิริ
การจัดการเรียนการสอนแบบร่วมมือวิธีจิ๊กซอร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย เรื่อง ลักษณะโดยทั่วไปของการฝากขาย ของนักเรียนชั้น.
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
ชื่อผู้วิจัย นายอภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
“ การพัฒนาทักษะการออกแบบและประกอบวงจรใช้
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่องการสร้างหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก ด้วยกิจกรรมแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ.
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
อาจารย์บำเรอ ศรีสุขใส
นางสาวนัทธ์หทัย ปัญเจริญ
เสริมสร้างพฤติกรรมความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย โดยการใช้เสริมแรงทางบวก นางอภิรดี จำรูญวัฒน์
เรื่อง การศึกษาความสัมพันธ์ของ ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียนวิชาศึกษาทั่วไปกับ การทำโครงงานในรายวิชาระบบ ฐานข้อมูลของนักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
บทความวิจัย เรื่อง การศึกษาจริยธรรมที่พึงประสงค์ของนักศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
การปรับพฤติกรรมความรับผิดชอบในการทำงาน
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
เรื่อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาการใช้โปรแกรมกราฟิก
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การศึกษาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาเครื่องส่งวิทยุและสายอากาศ เรื่อง วงจรเรโซแนนท์ โดยใช้ชุดฝึกเครื่องส่งวิทยุ AM. ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
การแก้ปัญหาการขาดเรียน ในรายวิชาโครงการ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่องวิจัย การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้วิชาการบัญชีร่วมค้าและฝากขาย โดยจัดกิจกรรมการเรียนแบบร่วมมือ ด้วยวิธี STAD ของนักเรียน 501 สาขางานการบัญชี
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
โดย นายสุรชัย ไตรบรรณ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก
การนำเสนอผลงานวิจัย ชื่อเรื่อง : สมรรถนะที่เป็นจริงของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ปวส. แผนก การบัญชี ตามความคิดเห็นของหัวหน้าแผนกบัญชี ในเขตพื้นที่
นางสาวจันทร์ฉาย ทะนุก้ำ ผู้วิจัย
การแก้ปัญหานักศึกษามาไม่ทันเรียน คาบแรกในรายวิชาการโฆษณา ด้วย วิธีการให้แต้ม สำหรับนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส.2) สาขาวิชาการตลาด ภาคเรียนที่
นางปิยนุช พงษ์เศวต โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการภาษานุสรณ์บางแค
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การเสริมสร้างทักษะกระบวนการ ทำงานด้านทักษะวิชาชีพ ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต กรณีศึกษา กิจกรรม การแข่งขัน การจัดแสดงสินค้ากลางแจ้ง.
ชื่อเรื่องวิจัย. การส่งเสริมพฤติกรรมการแสดงออกของนักศึกษาระดับชั้นปวช
นางสาวธาราวรรณ เที่ยงดี
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
1. เพื่อเสริมสร้างเจตคติในการส่งงานของ นักศึกษาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ห้อง คธ ส่งเสริมนักศึกษาให้เป็นผู้ตรงต่อเวลาใน การทำงาน 3. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงาน.
นางสาวเกสรา ฉายารัตน์
ผู้วิจัย นางกรุณา อุประดิษฐ์
การใช้สื่อการสอน “วงจรบัญชี”
วุฒิการศึกษา/สถานศึกษา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ของนักศึกษาระดับ ปวส การศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาการตลาด ห้อง สกต.111 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ผู้วิจัย นางสาวกรองจิตร เหมาะมาศ ตำแหน่ง ครู วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

ปัญหาการวิจัย เพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาการตลาด ห้อง สกต.111 พบว่า ส่วนที่ 1 ทำให้ทราบถึงสาเหตุที่สำคัญมากที่สุด คือการบ้านมากเกินไป และให้เวลาน้อยเกินไป และสาเหตุที่น้อยที่สุด คือช่วยเหลืองานผู้ปกครอง ส่วนที่ 2 ได้ทราบถึงแนวทางปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมดังกล่าวจากความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามที่ต้องการมากที่สุดคือ ใช้วิธีการกระบวนการกลุ่มในการทำงานหรือการบ้าน และแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมที่ต้องการน้อยที่สุดคือกำหนดให้งานหรือการบ้านเป็นกิจกรรมที่มีผลคะแนนก่อนสอบ

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสาเหตุของการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาการตลาด ห้อง สกต.111 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต 2. เพื่อรวบรวมข้อมูลสำหรับการแก้ปัญหาการไม่ส่งงานหรือการบ้านของนักศึกษา

กรอบแนวคิดในการวิจัย ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้ในวิชาการบัญชี 2 ของนักศึกษาระดับ ปวส. 1 ห้อง สกต. 111 (รอบค่ำ) ได้เห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ทำการวิจัยเพื่อศึกษาพฤติกรรมของการไม่ส่งงานหรือการบ้านของนักศึกษา เพื่อนำมาเป็นข้อมูลในการแก้ปัญหาของนักศึกษาในเรื่องการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม สาเหตุของพฤติกรรมกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้านตามกำหนดของนักศึกษา พฤติกรรมการส่งงานหรือการบ้าน

ระเบียบวิธีวิจัย 1. ประชากร นักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาการตลาด ห้อง สกต.111 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต จำนวน 12 คน ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาการบัญชี 2 2. กลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยใช้ประชากรทั้งหมด จำนวน 12 คน เป็นกลุ่มตัวอย่าง

เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้านของนักศึกษากลุ่มเป้าหมาย โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 ความคิดเห็นต่อสาเหตุของพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ส่วนที่ 2 ความคิดเห็นต่อแนวทางในการปรับปรุงของพฤติกรรมไม่ส่งงานหรือการบ้าน

การรวบรวมข้อมูล ใช้ระยะเวลาในการเก็บรวบรวมข้อมูลตลอดภาคการศึกษาที่ 1/2555 โดยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลดังนี้ 1. การสังเกตพฤติกรรม ผู้วิจัยได้สังเกตพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้านของนักศึกษากลุ่มเป้าหมายตั้งแต่คาบเรียนที่ 5-10 แต่มิได้บันทึกข้อมูล 2. เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม เรื่องสาเหตุและแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้านของนักศึกษากลุ่มเป้าหมายใน 13-16

ตารางที่ 1 สรุปผลแบบสอบถาม ส่วนที่ 1 ระดับความคิดเห็น (ร้อยละ) สาเหตุของพฤติกรรมไม่ส่งงานหรือการบ้าน ระดับความคิดเห็น (ร้อยละ) ค่าเฉลี่ย SD 5 4 3 2 1 ไม่ตอบ 1. การบ้านมากเกินไป 66.7 33.3 - 4.67 0.49 2. แบบฝึกหัดยากทำไม่ได้ 16.7 25.0 8.3 3.45 1.21 3. ไม่น่าสนใจ 50.0 2.42 1.16 4. ให้เวลาน้อยเกินไป 5. ครูอธิบายเร็วจนเกินไป 3.83 0.58 6. ไม่เข้าใจคำสั่ง 2.56 1.13 7. สมุด หนังสือหาย 41.7 2.45 1.63 8. เบื่อหน่ายไม่อยากทำ 4.08 0.79 9. ช่วยเหลืองานผู้ปกครอง 2.27 1.35 10. ลืมทำ 58.3 0.67 11.เตรียมตัวสอบเก็บคะแนนวิชาอื่น 4.09 0.70 12. ทำกิจกรรมของโรงเรียน 3.08 1.24

สรุปผลการวิจัย พบว่าแบบสอบถามเพื่อศึกษาพฤติกรรมการไม่ส่งงานของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาการตลาด ห้อง สกต.111 ส่วนที่ 1 ทำให้ทราบถึงสาเหตุที่สำคัญมากที่สุด คือการบ้านมากเกินไป และให้เวลาน้อยเกินไป และสาเหตุที่น้อยที่สุด คือช่วยเหลืองานผู้ปกครอง ส่วนที่ 2 ได้ทราบถึงแนวทางปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมดังกล่าวจากความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามที่ต้องการมากที่สุดคือ ใช้วิธีการกระบวนการกลุ่มในการทำงานหรือการบ้าน และแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมที่ต้องการน้อยที่สุดคือกำหนดให้งานหรือการบ้านเป็นกิจกรรมที่มีผลคะแนนก่อนสอบ ที่เป็นเช่นนี้อาจเป็นเพราะการบ้านมากเกินไป และให้เวลาน้อยเกินไป จึงทำให้การส่งงานหรือการบ้านไม่ทันตามกำหนด ซึ่งสอดคล้อง ศมากรณ์ วิเทศสนธิ (2554) ทำวิจัยเรื่องการไม่ส่งงาน/การบ้าน พบว่าสาเหตุของการไม่ส่งงานหรือการบ้าน ลำดับที่ 1 คือการบ้านมากเกินไป และแบบฝึกหัดยากทำไม่ได้

ข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช้ เมื่อทราบสาเหตุและแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้านของนักศึกษากลุ่มเป้าหมายแล้ว ควรดำเนินการปรับปรุงพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้านตามแนวทางที่ได้ต่อไป ข้อเสนอแนะเพื่อการทำการวิจัยครั้งต่อไป 1. ควรกำหนดกลุ่มเป้าหมายที่มีจำนวนมากกว่านี้ 2. ควรศึกษาเปรียบเทียบกลุ่มเป้าหมายที่แตกต่างกันคือกลุ่มเป้าหมายที่มีพฤติกรรมการส่งงานหรือการบ้านตามเวลาที่กำหนด และกลุ่มเป้าหมายที่มีพฤติกรรมการไม่ส่งงานหรือการบ้าน