โครงการ “ อนามัยเจริญพันธุ์ดี มีสุข วัยรุ่นเลย :

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
Advertisements

สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
สถานการณ์/สภาพปัญหาวัยรุ่น
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
สมรรถนะที่จำเป็นสำหรับผู้รับผิดชอบ การจัดการรายบุคคลในโรงพยาบาล (Case Manager และ Case Management Unit)
อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
ดำเนินงานโดย คปสอ. บ้านโป่ง
การบริหาร ยุทธศาสตร์บูรณา การการป้องกันและ แก้ไขปัญหาเอดส์ ระดับจังหวัด กลุ่มผู้ติดเชื้อ เอชไอวี
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.สมชาย เชื้อเพชรโสภณ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขต 13
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
การส่งเสริมสุขภาพป้องกันควบคุมโรค ในกลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
สรุปบทเรียนโครงการแก้ไขปัญหาทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
สรุปบทเรียนโครงการเอดส์ ด้าน CARE
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
วิเคราะห์บริบท / สถานการณ์
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
โครงการสำคัญตามนโยบาย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงฯ เขตฯ10 ประจำปี วันที่ พ. ย ณ รร
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
รอบที่ 2 ปีงบประมาณ สรุปตามมิติทาง ยุทธศาสตร์ การพัฒนาองค์กร ร้อยละ 22 ประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ ร้อยละ 15 คุณภาพการบริการ ร้อยละ 22 ประสิทธิผลตาม.
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
โครงการโรงพยาบาลปลอดบุหรี่ ขยายเครือข่ายสู่ชุมชน
1 อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ในเขต 7 ที่ผ่านเกณฑ์ สรุป : อำเภออนามัยเจริญพันธุ์ ในภาพเขต 7 ผ่านเกณฑ์ร้อยละสะสม กระบวนการ มีส่วนร่วมในเขตชัดเจนมากที่สุด มีการกำกับติดตามที่ชัดเจนมากส่งผลให้ขอเป็น.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
แนวทางการดำเนินงานสุขภาพจิต กลุ่มวัยทำงาน
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
สกลนครโมเดล.
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
งานส่งเสริมทันตสุขภาพ
กรอบการจัดทำแผนพัฒนาโรงพยาบาล ร้อยเอ็ด ประจำปี ๒๕๕๖ แนวคิด ปี ๒๕๕๖ ปีแห่งการวิเคราะห์และประเมิน ตนเองอย่างเข้มข้น วิเคราะห์เพื่อ พัฒนางาน ให้ได้ตาม มาตรฐาน.
การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ ความรู้แก่ผู้นำทาง ความคิดของเด็กและ เยาวชน การพัฒนาความร่วมมือ ของ ภาคีเครือข่าย การขจัดสิ่งยั่วยุและ อิทธิพลจากสื่อ.
แผนงาน พัฒนาศักยภาพเครือข่าย เพื่อการขับเคลื่อนงาน อาหารและโภชนาการเชิง รุก โดย นายสง่า ดามาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ 9 กรมอนามัย.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ “ อนามัยเจริญพันธุ์ดี มีสุข วัยรุ่นเลย : ทิศทางการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นจังหวัดเลย ปีงบประมาณ 2558 - 2560 โครงการ “ อนามัยเจริญพันธุ์ดี มีสุข วัยรุ่นเลย : Loei Buddy Happy Teen “ ทุนดำเนินงานสนับสนุนจาก สสส. (ปีละ 2 ล้านบาท) วัยรุ่น 10-19 ปี ใน-นอกระบบ 14 อำเภอ (ประเมิน9ภารกิจ 6อำเภอๆละ2ตำบล) 9 ภารกิจ (5 ยุทธศาสตร์ )

“ Buddy Happy Teen “ & “ RHD : Reproductive Health District ” รูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ภาคี เพื่อโปรแกรมอนามัยการเจริญพันธุ์สำหรับวัยรุ่น “ Buddy Happy Teen “ & “ RHD : Reproductive Health District ” วิเคราะห์และออกแบบการทำงาน หน่วยงานหลักที่สามารถจัดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิผล มีโอกาสครอบคลุมเยาวชนขนาดใหญ่ (Scale up) มีความเป็นไปได้ที่จะเชื่อมต่อประสานงาน และส่งผลต่อความยั่งยืน จับคู่ buddy การทำงานระหว่างสถานศึกษากับสถานบริการสุขภาพ (Buddy Happy Teen) (141 โรงเรียน 141 โรงพยาบาล) - รร.ประถมศึกษาขยายโอกาสจับคู่กับ รพ.สต. 127 คู่ -รร.มัธยมประจำอำเภอจับคู่กับโรงพยาบาลชุมชน 13 คู่ -รร.มัธยมศึกษาขนาดใหญ่(เมือง)จับคู่โรงพยาบาลจังหวัด 1 คู่ ร่วมกับ การพัฒนาอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ตามมาตรฐาน (RHD : Reproductive Health District) เพื่อให้วัยรุ่น ได้รับความรู้/ทักษะ – ได้รับการให้คำปรึกษา - ได้รับการส่งต่อที่เหมาะสม

การเสริมสร้างบทบาทองค์ความรู้แก่ผู้นำทางความคิดของเด็กและเยาวชน การป้องกัน การเสริมสร้างบทบาทองค์ความรู้แก่ผู้นำทางความคิดของเด็กและเยาวชน การขจัดสิ่งยั่วยุและอิทธิพล จากสื่อ การช่วยเหลือและบำบัดฟื้นฟู การพัฒนาความร่วมมือของภาคีเครือข่าย ● (ภ.3) ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนเพศศึกษารอบด้าน ในสถานศึกษา ● (ภ.3) การพัฒนาแกนนำเยาวชนเชิงบวก ● (ภ.8) เปิดพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเยาวชน “บ้านหลังเรียน” ● (ภ.5) การรณรงค์สร้างกระแสอย่างต่อเนื่อง ● (ภ.2) ส่งเสริมบทบาทครอบครัว และชุมชนในการมีส่วนร่วมป้องกันแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นโดยสนับสนุนให้พ่อแม่มีทักษะคุยกับลูกอย่างเปิดใจเรื่องความรัก ความสัมพันธ์ และเพศสัมพันธ์ ● (ภ.6-7) จัดคลินิกบริการที่เป็นมิตรสำหรับวัยรุ่นและเยาวชน (YFHS) ครอบคลุมบริการที่จำเป็นทุกด้านและเข้าถึงวัยรุ่นทุกกลุ่มแบบบูรณาการกับศูนย์ให้คำปรึกษา (Psychosocial clinic)และศูนย์พึ่งได้/ช่วยเหลือสังคม (OSCC) ● (ภ.1) การดำเนินงานBUDDY HAPPY TEEN จับคู่ 141 รร. 141 รพ. ร่วมกับการขับเคลื่อนอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์(RHD)ให้ได้มาตรฐาน ●(ภ.9) พัฒนาระบบข้อมูล /M&E/KM ●(ภ.5)การพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ ●(ภ.4) วิเคราะห์ และออกแบบการทำงานเพื่อเจาะกลุ่มวัยรุ่นที่มีแนวโน้มว่าจะมีเพศสัมพันธ์และเสี่ยงต่อการตั้งครรภ์โดยเฉพาะ ● จัดระเบียบสังคม