งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ
(District Health System Management Learning : DHML) อำเภอป่าติ้ว โจทย์ Module 2 การวิเคราะห์สถานการณ์ Module 1 เป้าหมายและวิสัยทัศน์โดยรวม Module 3 ปัญหาสุขภาพ

2 การวิเคราะห์สภาพปัญหา 1.ปัญหาสาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
สาเหตุการป่วย 1.MCH = LBW ANC PNC 2.NCD = DM/HT 3.CD = DHF การวิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุการตาย สาเหตุการตาย อันดับ 1 โรคมะเร็ง ได้ร่วมกับวาระคนยโสธร ต้านมะเร็งท่อน้ำดี KPI การบริการ -PCA -HA

3 การจัดลำดับความสำคัญ เป็นข้อสรุปจากทุกตำบล
-ขนาด -ความรุนแรง -ความยากง่ายของการแก้ปัญหา -การมีส่วนร่วมของชุมชน*** เป็นข้อสรุปจากทุกตำบล (ผ่าน รพ./รพ.สต.) DHS/DHML

4 การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ
โครงการ ODOP การส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา MCH ปี การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System Management Learning : DHML) KPI แม่อายุต่ำกว่า 20 ปีคลอดไม่เกิน ร้อยละ 10 KPI อัตราวัยรุ่นตั้งครรภ์ไม่เกิน 50 ต่อพันpopวัยรุ่น DHML

5 กลุ่มเสี่ยง โรงเรียนมัธยม/รร.ขยายโอกาส/การศึกษานอกระบบ
วัยรุ่น ปี 5,373 คน (หญิง 2,698 คน) RCA ร้านอาหาร/คาราโอเกะ 12 ร้าน

6 โครงการป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
เครือข่ายสุขภาพ อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร ความเครียด/ภาวะซึมเศร้า ฝากครรภ์ครบคุณภาพ ทารก แรกเกิด นน.น้อย Teenage Pregnancy พัฒนาการเด็กก่อน-หลังคลอด การเรียน การทำแท้ง คุณภาพชีวิตของแม่และเด็ก ฐานการพัฒนา คือคุณภาพของคน

7 ปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร (Teenage Pregnancy)
ปัญหายุ่งยากซับซ้อน (Complex) แก้เชิงระบบ สร้างความร่วมมือในการแก้ปัญหา ดำเนินหลายๆเรื่อง/กิจกรรมพร้อมกัน การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Interactive Learning through Action : PILA

8 กลวิธีดำเนินการ 3.1 จัดสร้างระบบข้อมูลเพื่อส่งเสริมให้เกิดช่อง ทางการเผยแพร่และตอบสนองจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง MOdule1 : เป้าหมายและวิสัยทัศน์โดยรวม(Overall Interactions) MOdule2 : การวิเคราะห์สถานการณ์ (Situation analysis) MOdule3 : ปัญหาสุขภาพ (Health problems) Module 9 : การบริหารจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ (Management Health Information System)

9 กลวิธีดำเนินการ 3.2 จัดเวทีนำเสนอข้อมูล/การศึกษาดูงาน เพื่อให้เกิด กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงาน/ภาคี/ภาคส่วน ที่เกี่ยวข้อง Module 8 :การมีส่วนร่วมของชุมชนและการสร้างการมีส่วนร่วมกับภาคส่วนต่างๆ (Community Participation and Intersect oral Collaboration )

10 กลวิธีดำเนินการ 3.3 จัดทำบันทึกข้อตกลง/พันธะกิจร่วมกัน โดย การบูรณาการแผนงาน/โครงการร่วมกัน Module 5 : คุณลักษณะของผู้บริหารจัดการ และเครื่องมือบริหารจัดการระบบสุขภาพอำเภอ(Essential Managers and Introduction to District Health system Management tools ) Module 6 : วงจรการวางแผนและการบริหารจัดการ(Planning and Management cycles )

11 กลวิธีดำเนินการ 3.4 การดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ การตรวจเยี่ยม/ติดตามประเมินผล Module 4 : หลักการของการจัดระบบบริการสุขภาพ(Principles of Health service Organization ) และระบบบริการสุขภาพอำเภอ (District Health service system Module 11 : การประเมินผล (Evaluation)

12 กลวิธีดำเนินการ 3.5 จัดเวทีนำเสนอผลงานภาพรวมเครือข่าย
Module 9 : การบริหารจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ (Management Health Information system)

13 กลวิธีดำเนินการ 3.6 การสรุปผลการดำเนินงานแจ้งภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
MOdule9 : การบริหารจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ (Management Health Information system) ที่ว่าการ อปท. อสม. DHS (CUP) ผู้นำชุมชน ส่วนราชการ โรงเรียน

14 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกิดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพื้นที่ ของภาคี เครือข่ายและภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง 2. เกิดแนวทาง/ข้อตกลงในการดำเนินงานตามบริบทพื้นที่ อำเภอป่าติ้ว 3. อัตรามารดามีบุตรคนแรกอายุต่ำกว่า 20 ปี ลดลง (ผลพลอยได้)

15 การบูรณาการเครือข่าย
ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหา วัยเรียนและวัยรุ่น 1.โรงเรียนผานเกณฑมาตรฐานในโรงเรียนสงเสริมสุขภาพระดับเพชร

16 โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
KPIs = 19 ตัว KPI ที่ 8 นักเรียนมีความรู้และทักษะอนามัยทางเพศ กิจกรรมโครงการ -stop teen mom -มุม teen mom -เชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้ -รุ่นพี่ Teen Mom แชร์ประสบการณ์ -ทีม อย.น้อยให้ความรู้เสียงตามสาย -จับคู่ Buddy รุ่นพี่-น้อง -ประสานพัฒนาสังคม(หน่วย 44) ให้ความรู้เด็ก -สนับสนุนงบประมาณ 2.จัดการเรียนการสอนในรายวิชา วิชาสุขศึกษา/เพศศึกษา 3.บูรณาการกับรายวิชาอื่น เช่น วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา 4.พัฒนาผู้เรียนเจาะจงเฉพาะวิชาเพศศึกษา ติดตามและประเมินผล


ดาวน์โหลด ppt การสร้างเสริมสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google