ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
Advertisements

แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ผู้รับผิดชอบงานกฎหมายสาธารณสุข และนิติกร ของศูนย์อนามัย ที่ 1-12
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
แผนการขับเคลื่อน พันธะสัญญาคนอีสาน
การขับเคลื่อนองค์กรไร้พุง
ประเด็นยุทธศาสตร์ กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ ดื่มน้ำสะอาด
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
กลุ่มโภชนาการประยุกต์
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การดำเนินงานเพื่อจัดทำเครือข่าย เฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร ของ โดย สุรีย์ วงค์ปิยชน 19 มีนาคม 50 กรมอนามัย.
แผนที่ยุทธศาสตร์กองสุขาภิบาล อาหารและน้ำ
ระดับพื้นฐาน (Learning /Development)
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคสาธารณสุขเขต 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
MIND MAPงานสุขภาพศึกษาและพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
แผนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตบริการสุขภาพที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2558
แผนบูรณาการ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558
แผนการดำเนินงาน ของศูนย์กฎหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ กรมควบคุมโรค
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สสจ. สสอ. 1. เพิ่มประสิทธิภาพการบังคับใช้กฎหมาย 1. อบรมพัฒนาทักษะการทำหน้าที่เลขานุการ อสธจ. 2. จัดทำคู่มือเอกสารวิชาการเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของศูนย์อนามัย/เจ้าพนักงานสาธารณสุข 3. จัดทำคู่มือเอกสารวิชาการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของเจ้าพนักงานสาธารณสุข 4. นิเทศ/ติดตาม/ประเมิน/และจัดทำสรุปผลการดำเนินงานอสธจ. ภาพรวม/รายภาค 5. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาต้นแบบ(Model Development) การดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 7 เรื่อง 1.สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน อสธจ. 4 ภาค 2. พัฒนาต้นแบบ(Model Development) การดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมอย่างน้อย 7 เรื่อง 3. จัดทำรายงานสถานการณ์การดำเนินงานอนามัยสิ่งแวดล้อมและการบังคับใช้กฎหมายระดับเขต 4.พัฒนาต้นแบบ อปท.ในการใช้กระบวนการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพเพื่อสนับสนุนการออกข้อบัญญัติของท้องถิ่น 1. จัดทำฐานข้อมูลและรายงานสถานการณ์ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมและการดำเนินงานตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุขของอปท. (ข้อบัญญัติ/ การใช้กฎหมาย/เจ้าพนักงานตามกฎหมาย 2.จัดการประชุม อสธจ. ประจำทุกเดือน 3.ฝึกอบรมฟื้นฟู/ทบทวนองค์ความรู้ด้านกฎหมายและด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมสำหรับเจ้าพนักงานสาธารณสุข (สสอ.) 4.ฝึกอบรมพัฒนาทักษะการยกร่างข้อกำหนดของท้องถิ่น (ผู้ปฏิบัติงานใน อปท.) 5.ฝีกอบรมพัฒนาทักษะการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมาย (ผู้ปฏิบัติงาน ใน อปท.) 6.จัดทำโครงการแก้ไขปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเร่งด่วนที่เกิดในพื้นที่ 7.จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานเสนอเขตสุขภาพ/คณะกรรมการสาธารณสุข   1.จัดทำบัตรประจำตัว จพง.สธ. 2.รวบรวมข้อกำหนดของท้องถิ่นที่ออกโดยใช้อำนาจตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข 3.สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพ อปท. เรื่องการบังคับใช้กฎหมายฯ 4.พัฒนาศักยภาพอปท.เรื่องการใช้เครื่องมือการประเมินความเสี่ยงด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพ.ร.บ.สธ. 5.ติดตามประเมินผลการบังคับใช้กฎหมายของอปท

ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สสจ. สสอ. 2. จัดการเรื่องร้องเรียนเหตุรำคาญ 1. จัดการฝึกอบรมการจัดการเหตุรำคาญและเทคนิคการใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ในการตรวจวินิจฉัยเหตุรำคาญ 2. สนับสนุนการจัดการปัญหาเหตุรำคาญในพื้นที่และการ Calibrate เครื่องมือวิทยาศาสตร์ 3. จัดทำหลักสูตรฝึกอบรมเรื่องเหตุรำคาญ 4. จัดทำคู่มือวิชาการและแนวทางการดำเนินงานเพื่อจัดการเหตุรำคาญ 5. สำรวจข้อมูลสถานการณ์ฯ1 ครั้ง/ปี 6. วิเคราะห์ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลด้านการจัดการเหตุรำคาญ กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและการบังคับใช้กฎหมายสาธารณสุข 7. จัดทำคำแนะนำทางวิชาการเพื่อการควบคุมกิจการที่เป็นอันตราย ต่อสุขภาพ 8. นิเทศ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 1.สนับสนุนการจัดการปัญหาเหตุรำคาญในพื้นที่ 2.จัดการฝึกอบรม สสจ. และ สสอ. กี่ยวกับการจัดการเหตุรำคาญ 3.สนับสนุน สสจ. ในการแก้ไขปัญหาเหตุรำคาญในพื้นที่ 4.จัดทำฐานข้อมูลและสถานการณ์ปัญหาด้านเหตุรำคาญระดับเขต 5.นิเทศ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 1. ร่วมลงพื้นที่ตรวจวินิจฉัยปัญหาเหตุรำคาญกับ สสอ. และ อปท. 2. จัดทำฐานข้อมูลเรื่องเหตุรำคาญของจังหวัด 1.ร่วมลงพื้นที่ ตรวจวินิจฉัยปัญหาเหตุรำคาญกับ อปท. 2. จัดทำฐานข้อมูลเรื่องเหตุรำคาญในพื้นที่รับผิดชอบ

ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สสจ. สสอ. 3. จัดการมูลฝอยติดเชื้อของสถานพยาบาล 1.จัดการอบรมศักยภาพผู้ตรวจประเมินระบบบริหารจัดการมูลฝอยติดเชื้อของสถานพยาบาล 2. จัดทำหลักสูตรและคู่มือการการจัดการมูลฝอยติดเชื้อในโรงพยาบาล 3. พัฒนาระบบฐานข้อมูลการจัดการของเสียอันตรายทางการแพทย์และมูลฝอยติดเชื้อในรพ.ผ่านระบบ GIS 4. นิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน 1.แนะนำและประเมินระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของรพ. 2.อบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับมูลฝอยติดเชื้อตามหลักสูตรการฝึกอบรมการป้องกันและระงับการแพร่เชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข 3.อบรมเจ้าหน้าที่สารสนเทศ (IT) ของโรงพยาบาลเกี่ยวกับระบบการรายงานการจัดการของเสียอันตรายทางการแพทย์และมูลฝอยติดเชื้อในรพ.ผ่านระบบ GIS 4.นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน 1.แนะนำและประเมินระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของรพ.และคลินิกเอกชนในพื้นที่ 2.อบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับมูลฝอยติดเชื้อตามหลักสูตรการฝึกอบรมการป้องกันและระงับการแพร่เชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข(สำหรับโรงพยาบาลในพื้นที่ โดยร่วมกับศูนย์อนามัย) 3.กำกับ ดูแล และติดตามระบบการจัดการมูลฝอยติดเชื้อให้เป็นไปตามกฎหมาย 1.ตรวจแนะนำการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของรพ.สต. และ อปท.

ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สสจ. สสอ. 4. การจัดการสิ่งปฏิกูล และมูลฝอยทั่วไป 1.การสำรวจสถานการณ์การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยของประเทศไทย 2.พัฒนากฎหมายระดับอนุบัญญัติที่เกี่ยวข้อง 3.จัดทำมาตรฐานทางวิชาการและแนวทางการดำเนินงานด้านการจัดการปฏิกูล มูลฝอยทั่วไป 4.พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมฯ 5.ส่งเสริมให้มีการพัฒนาต้นแบบที่ดีด้านการจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยทั่วไป 6.นิเทศ ติดตามการดำเนินงาน 1.ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่ อปท. ด้านการจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอยทั่วไป 2.จัดสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดการสิ่งปฏิกูลและมูลฝอยทั่วไประดับเขต 3.ส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนาคุณภาพระบบคุณภาพบริการด้านการจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอยทั่วไปของอปท. 4.ตรวจแนะนำ และประเมินรับรองมาตรฐานฯ 5.จัดทำฐานข้อมูลและสถานการณ์ปัญหาด้านสิ่งปฏิกูล มูลฝอยทั่วไประดับเขต 6.นิเทศ ติดตามการดำเนินงานฯ จังหวัดในพื้นที่ 1.ฝึกอบรมเจ้าหน้าที่สสอ. และอปท. ด้านการจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอยทั่วไป 2.ตรวจแนะนำการพัฒนาคุณภาพระบบการจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอยทั่วไป ของ อปท. 3.จัดทำฐานข้อมูล และสถานการณ์ปัญหาฯ ของจังหวัด 4.นิเทศ กำกับ ติดตาม การดำเนินงานในพื้นที่ ตรวจแนะนำการพัฒนาคุณภาพระบบการจัดการสิ่งปฏิกูล มูลฝอยทั่วไป ของ อปท.

ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สสจ. สสอ. 5. อาหารและน้ำ 1.ส่งเสริมการพัฒนาต้นแบบโรงน้ำแข็ง ตู้น้ำหยอดเหรียญ ตลาดนัดที่ได้มาตรฐาน 2.จัดทำเอกสารวิชาการ คู่มือการดำเนินงานฯ เพื่อสนับสนุน ศอ. สสจ. และ สสอ. 1.ส่งเสริม สนับสนุน อปท.ในการออกข้อกำหนดท้องถิ่นในเรื่อง โรงน้ำแข็ง ตู้น้ำหยอดเหรียญตลาดนัด 2.จัดทำฐานข้อมูลสถานประกอบการในจังหวัด (โรงน้ำแข็ง ตู้น้ำหยอดเหรียญ ตลาดนัด) ระดับเขต 3.เฝ้าระวังคุณภาพความปลอดภัยอาหารในตลาดนัด คุณภาพน้ำบริโภค ของน้ำแข็งและตู้น้ำหยอดเหรียญ 4. ตรวจแนะนำและพัฒนาตลาดนัด และโรงน้ำแข็งตู้น้ำหยอดเหรียญตามเกณฑ์มาตรฐาน 5.พัฒนาต้นแบบโรงน้ำแข็ง ตู้น้ำหยอดเหรียญ ตลาดนัด ที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน 6.พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ และภาคีเครือข่าย 1.เฝ้าระวังคุณภาพความปลอดภัยอาหารในตลาดนัด คุณภาพน้ำบริโภค ของน้ำแข็งและตู้น้ำหยอดเหรียญ 2. ตรวจแนะนำและพัฒนาตลาดนัด และโรงน้ำแข็งตู้น้ำหยอดเหรียญตามเกณฑ์มาตรฐาน 3. จัดทำฐานข้อมูลและสถานการณ์ด้านสุขาภิบาลอาหาร และ..........

ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สสจ. สสอ. 6.เฝ้าระวังด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1. พัฒนาระบบและกลไก เฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากสิ่งแวดล้อมระดับประเทศ 2. ออกแบบเครื่องมือ 3. จัดทำชุดความรู้ (7 ประเด็น) คู่มือการปฏิบัติงานในแต่ละระดับ 4. พัฒนาขีดความสามารถ จนท. และผู้ที่เกี่ยวข้อง (จัดทำหลักสูตร) 5. วางแผนการจัดการ แก้ไขปัญหาในภาพรวมของประเทศ 6.พัฒนาระบบสนับสนุนการตรวจวิเคราะห์ด้านสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ 7. เป็นที่ปรึกษาให้ ศอ. 8. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล พัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ ระดับเขต พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือการดำเนินงานเฝ้าระวัง ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พัฒนาขีดความสามารถ เครือข่าย จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ข้อแนะนำและเป็นที่ปรึกษาในการดำเนินงานแก่พื้นที่ ตรวจสอบ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล 1. พัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ ระดับจังหวัด 2. สื่อสารข้อมูลความเสี่ยง เตือนภัย 3.พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรและ ปชช. ในพื้นที่ 4. กำกับ ติดตาม ประเมินผล 1. สนับสนุนการเฝ้าระวังในอำเภอ เช่น การตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ำ อาหาร เป็นต้น 2. รวบรวมข้อมูลพื้นฐาน/ข้อมูลความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพในพื้นที่ 3. สื่อสาร ให้ความรู้แก่พื้นที่และประชาชน

ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สสจ. สสอ. 7.การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เสี่ยง (หมอกควัน ขยะอิเล็กทรอนิกส์ เหมืองแร่ พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและชายแดน โรงไฟฟ้าชีวมวล สถานที่ท่องเที่ยวและพื้นที่อื่น ๆ ตามความเสี่ยงในพื้นที่) พัฒนาระบบเฝ้าระวังฯ เป็นที่ปรึกษาให้พื้นที่ จัดทำชุดความรู้และเผยแพร่ผ่านสื่อประชาสัมพันธ์จากความเสี่ยงต่อสุขภาพในพื้นที่เสี่ยง ร่วมสำรวจ เก็บข้อมูลความเสี่ยงในพื้นที่เสี่ยง รวบรวมข้อมูลความเสี่ยงในระดับเขต อบรมศักยภาพเจ้าหน้าที่ในประเด็นที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังมลพิษสิ่งแวดล้อมที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพในพื้นที่เสี่ยง กำกับ ติดตาม เฝ้าระวังผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ประเด็นปัญหาในพื้นที่ สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังฯในพื้นที่เสี่ยง โดยสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมและความร่วมมือในการเฝ้าระวังในพื้นที่เสี่ยง ทั้งในและนอกภาค สธ. เก็บตัวอย่างคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จัดการปัญหาความเสี่ยงในพื้นที่ ร่วมเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อมตามประเด็นปัญหาในพื้นที่ สร้างความเข้มแข็งให้ประชาชนและหน่วยงานในพื้นที่ในการเฝ้าระวังความเสี่ยงในพื้นที่เสี่ยง สนับสนุนจัดการปัญหาความเสี่ยงในพื้นที่ สื่อสาร ให้ความรู้ประชาชน

ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สสจ. สสอ. 8. การจัดทำสถานการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ(อวล.) จัดทำเครื่องมือ เช่น แบบสำรวจ เป็นต้น จัดทำข้อมูลสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (อวล.) ระดับประเทศ วิเคราะห์สถานการณ์และแก้ไขปัญหาระดับประเทศ จัดทำข้อมูลสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (อวล.) ระดับเขต วิเคราะห์สถานการณ์และแก้ไขปัญหาระดับเขต จัดทำข้อมูลสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (อวล.) ระดับจังหวัด วิเคราะห์สถานการณ์และแก้ไขปัญหา ระดับจังหวัด ร่วมจัดทำข้อมูลสถานการณ์สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (อวล.)

ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สสจ. สสอ. 9. การสื่อสารความเสี่ยง 1.พัฒนาระบบและกลไก การสื่อสารฯ ระดับประเทศ 2. จัดทำชุดความรู้ (7 ประเด็น + 30 พื้นที่เสี่ยง) คู่มือการปฏิบัติงานในแต่ละระดับ 3. พัฒนาขีดความสามารถ จนท. และผู้ที่เกี่ยวข้อง (จัดทำหลักสูตร) 4. เป็นที่ปรึกษาให้ ศอ. 5.นิเทศ ติดตาม ประเมินผล พัฒนาระบบการสื่อสารฯ ระดับเขต พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือการดำเนินงานการสื่อสารฯ ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พัฒนาขีดความสามารถ เครือข่าย จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ให้ข้อแนะนำและเป็นที่ปรึกษาในการดำเนินงานแก่พื้นที่ ตรวจสอบ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล พัฒนาระบบการสื่อสารฯ ระดับจังหวัด สื่อสารข้อมูลความเสี่ยง เตือนภัย พัฒนาขีดความสามารถบุคลากรและ ปชช. ในพื้นที่ กำกับ ติดตาม ประเมินผล สื่อสารความเสี่ยง ในพื้นที่

ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สสจ. สสอ. 10. การติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1. พัฒนาระบบการติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพตามประเด็นยุทธศาสตร์ -จัดทำตัวชี้วัด/ประเด็นในการนิเทศ ติดตาม -นิเทศ ติดตาม -สุ่มติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ 1. จัดเตรียมข้อมูลเพื่อรับการติดตามประเมินผล 2.นิเทศ ติดตาม 3. สุ่มติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานเชิงคุณภาพ 1.จัดเตรียมข้อมูลเพื่อรับการติดตามประเมินผล

ส่วนกลาง ศูนย์อนามัย สสจ. สสอ. 11.การพัฒนาเครื่องมือการประเมินความเสี่ยงด้าน อวล.เพื่อควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพ.ร.บ.สธ. 1. พัฒนาระบบและกลไกHIA ภายใต้พรบ.สธ. 2. พัฒนาเครื่องมืออย่างง่ายในการควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 20 ประเภท 3. สนับสนุนการพัฒนาต้นแบบ อปท.ในการใช้HIA เพื่อสนับสนุนการออกข้อบัญญัติของท้องถิ่น 4. พัฒนาหลักสูตรอบรมจนท.และอปท. (เรื่อง HIA) 5.จัดทำคู่มือวิชาการและเอกสารเผยแพร่ 6. กำกับ ติดตาม 1. พัฒนาศักยภาพอปท.เรื่องการใช้เครื่องมือการประเมินความเสี่ยงด้าน อวล.เพื่อควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพ.ร.บ.สธ. 2.ให้คำปรึกษาแก่สสจ. สสอ. และอปท. ในการใช้เครื่องมือการประเมินความเสี่ยงฯเพื่อควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพ.ร.บ.สธ. 3. กำกับ ติดตาม 1. สนับสนุนการพัฒนาต้นแบบอปท.ในการใช้กระบวนการ HIA เพื่อสนับสนุนการออกข้อบัญญัติของท้องถิ่น 2. ประชุมชี้แจง /ให้คำแนะนำการใช้เครื่องมือการประเมินความเสี่ยงฯเพื่อควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพ.ร.บ.สธ. 1.สนับสนุนการพัฒนาต้นแบบอปท.ในการใช้กระบวนการ HIA เพื่อสนับสนุนการออกข้อบัญญัติของท้องถิ่น 2. ประชุมชี้แจง/ ให้คำแนะนำการใช้เครื่องมือการประเมินความเสี่ยงฯเพื่อควบคุมกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพตามพ.ร.บ.สธ.