รู้จักกับ Microsoft Access 2003

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การควบคุมตำแหน่งการแสดงผล และการจัดวางข้อมูลบนจอภาพ
Advertisements

Microsoft Access อ.เล็กฤทัย ขันทองชัย Microsoft Access.
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
จัดการฐานข้อมูลด้วย Microsoft Access 2007
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิชัย บุญเจือ
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
MS Excel Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรยชีต (Speadsheet) หรือโปรแกรมตาราง งาน ซึ่งจะเก็บข้อมูลต่าง ๆ ลงบน แผ่นตารางงาน คล้ายกับการเขียน ข้อมูลลงไปในสมุดที่มีการตีช่องตาราง.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต รหัสวิชา
เตรียมเอกสารประกอบการนำเสนอ
บทที่ 3 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม Visual Basic
ภาษา SQL (Structured Query Language)
Microsoft Access.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
Microsoft Access.
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
PHP LANGUAGE.
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
Microsoft Word Part I Government Savings Bank Computer Trainging Í
Project Management.
Microsoft Word XP โดย พิสมัย น้ำจันทร์.
ระบบอัตโนมัติและการพิมพ์
โครงสร้าง HTML โครงสร้างพื้นฐาน HTML คำสั่งขึ้นบรรทัดใหม่ <BR>
การใช้งาน Microsoft Excel
Microsoft Access เอกสารประกอบการบรรยายวิชา Computer in Business
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
การสร้างตาราง (Table)
โปรแกรม Microsoft Access
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา
การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงาน เรื่อง -ส่วนประกอบที่สำคัญของ microsoft excel -การพิมพ์ข้อมูลและการสร้างสูตรเบื้องต้น จัดทำโดย.
Microsoft Excel เป็นโปรแกรมประเภท สเปรดชีต (spreadsheet) หรือตารางคำนวณอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เก็บบันทึกข้อมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งส่วนใหญ่มักเก็บข้อมูลประเภทการคำนวณ.
พื้นฐานของ Microsoft Office Excel โดย
การใช้คำสั่งเงื่อนไขใน exel
การใช้งาน access เบื้องต้น
การแปลงข้อมูลใน Excel เป็นฐานข้อมูลใน Access
การนำเสนอข้อมูล หน่วยที่ 1.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เบื้องต้น
Data Modeling Chapter 6.
การใช้ Word เพื่อการคำนวณ
การวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Access
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
เริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
เรื่อง การสร้างตาราง (Table)
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Power Point
โปรแกรม Microsoft Access
วิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
การสร้างฐานข้อมูลโดยการใช้ phpMyAdmin
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ Microsoft Visual C#
การสร้างและการใช้งานฟอร์ม
รหัสวิชา บทที่ 4 การจัดรูปแบบเอกสาร.
การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ User Interface Design
ภาพนี้ชื่อว่าอะไร ? ก. แถบเมนูบาร์
Access 2003 คืออะไร Access 2003 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการ จัดการกับฐานข้อมูล ซึ่งจะช่วยให้เรา จัดการกับข้อมูลปริมาณมากๆ ได้ ง่ายดาย เช่นการจัดเก็บข้อมูล,
BC305 การวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศ
เสริมเว็บให้ดูสวย.
บทที่ สร้างงานเอกสารและการแก้ไข
บทที่ 2 การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Word 2003
Microsoft Access 2007 นายวุฒิชัย คำมีสว่าง.
ง30219 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
เริ่มใช้งาน Microsoft Office
ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับโปรแกรม
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

รู้จักกับ Microsoft Access 2003

ทบทวนเนื้อหาเดิม 1. องค์ประกอบของ E-R Diagram มีอะไรบ้าง ตอบ มี 3 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. Entity 2. Attribute 3.Relation 2. Entity หมายถึงอะไร ตอบ สิ่งของหรือวัตถุ อาจจะเป็น บุคคล, สถานที่, หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ

ทบทวนเนื้อหาเดิม 3. Attribute หมายถึงอะไร ตอบ แอททริบิวต์ เป็นสิ่งที่ใช้อธิบายถึงคุณลักษณะของ Entity 4. Relation มีกี่ประเภท อะไรบ้าง ตอบ 3 ประเภท ดังนี้ 1. One To One 2. One To Many 3. Many To Many

โปรแกรม Microsoft Access 2003 Microsoft Office Access 2003 เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย Access 2003 เป็นโปรแกรมฐานข้อมูลที่ใช้ง่าย โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความเข้าใจในการเขียนโปรแกรมก็สามารถใช้งานได้โดยที่ไม่จำเป็นต้องศึกษารายละเอียดในการเขียนโปรแกรมให้ยุ่งยาก

การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Access 2003 คลิกที่ปุ่ม Start All Program Microsoft Office Microsoft Office Access 2003

ขั้นตอนการสร้างฐานข้อมูล สร้างโฟลเดอร์สำหรับเก็บงานของนักเรียนทั้งหมด ที่ไดร์ฟ D: โดยตั้งชื่อโฟลเดอร์ว่า DBM66_00 สร้างโฟลเดอร์สำหรับเก็บงานที่มีชื่อว่า Work1

ขั้นตอนการสร้างฐานข้อมูล ทำได้ 4 วิธี วิธีที่1 คลิกที่ แฟ้ม > สร้าง > ฐานข้อมูลเปล่า วิธีที่2 คลิกที่ปุ่มStandard Toolbars > ฐานข้อมูลเปล่า วิธีที่3 คลิกที่ปุ่ม สร้างแฟ้มใหม่ > ฐานข้อมูลเปล่า วิธีที่4 กดปุ่ม <Ctrl> +<n>

ขั้นตอนการสร้างฐานข้อมูล เลือกโฟลเดอร์ที่ต้องการจัดเก็บฐานข้อมูลใหม่ พิมพ์ชื่อแฟ้มที่ต้องการสร้างใหม่ในช่อง File name จากนั้นกด Create

Database Window ของ MS Access 2003 มีส่วนประกอบ 3 ส่วนหลัก ๆ คือ แถบ Menu Bar พื้นที่แสดงอ็อบเจกต์ (Object Design) แถบ Object Bar

Object Bar ประกอบด้วย 7 Object ตาราง ใช้ในการจัดเก็บข้อมูลในรูปแบบของตาราง แบบสอบถาม ใช้ในการเรียกค้นข้อมูลที่อยู่ในฐานข้อมูล ฟอร์ม ใช้สำหรับป้อนข้อมูลของผู้ใช้งาน รายงาน ใช้ในการนำเสนอข้อมูล หรือรายงานที่อยู่ในฐานข้อมูล

Object Bar ประกอบด้วย 7 Object เพจ เป็นการนำเอาฟอร์ม,แบบสอบถาม และรายงานไปแสดงผลบนบราวเซอร์ แมโคร ใช้บันทึกคำสั่งเก็บรวมเอาไว้ แล้วเรียกใช้ได้อย่างสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น โมดูล เก็บโปรแกรมย่อยที่เขียนด้วยภาษา VBA เพื่อรองรับการทำงานที่ซับซ้อนมากยิ่งขึ้น

การตั้งชื่อฟิลด์ (Filed Name) ความยาวของชื่อต้องไม่เกิน 64 ตัวอักษร ใช้ตัวอักษร ตัวเลข หรือช่องว่างในการตั้งชื่อร่วมกันได้ ใช้สัญลักษณ์พิเศษต่างๆ ในการตั้งชื่อได้ ยกเว้น จุด(.) อัศเจรีย์ (!) วงเล็บก้ามปูทั้งปิดและเปิด ([ ]) กรณีที่ใช้ช่องว่าในการตั้งชื่อฟิลด์ เวลาอ้างอิงถึงชื่อดังกล่าวใน Query หรือ Form ต้องใส่ชื่อฟิลด์ไว้ในเครื่องหมาย [ ] เช่น [Order ID] ควรตั้งชื่อเป็นภาษาอังกฤษมากกว่าภาษาไทย ควรตั้งชื่อให้สื่อความหมายกับคุณสมบัติของ Field นั้น

ชนิดข้อมูลใน MS Access ใช้สำหรับ Text ข้อความหรือการผสมของข้อความกับตัวเลขที่ไม่ต้องใช้ในการคำนวณ Memo ข้อความและตัวเลขที่ยาวมาก เช่น คำอธิบาย หรือ หมายเหตุ Number ตัวเลขที่ใช้สำหรับการคำนวณ ยกเว้นการคำนวณที่เกี่ยวข้องกับเงิน Date/Time วันที่และเวลา Currency ใช้เก็บตัวเลขทางการเงิน AutoNumber หมายเลขเรียงตามลำดับที่ไม่ซ้ำกัน (เพิ่มขึ้นทีละ 1) หรือหมายเลขลำดับที่จะถูกแทรกเข้าไปโดยอัตโนมัติเมื่อมีการเพิ่มระเบียน Yes/No เขตข้อมูลที่ประกอบด้วยค่าทางเลือก เช่น Yes/No True/False หรือ On/Off

ชนิดข้อมูลใน MS Access ใช้สำหรับ OLE Object ใช้เก็บรูปภาพ หรือกราฟ เก็บได้ถึง 1 GB Hyperlink เป็นการเชื่อมโยงไปยังไฟล์ภายใน ซึ่งอยู่ใน World Wide Web หรือใน internet เก็บได้ 2,048 ตัวอักษร

การกำหนดรูปแบบการแสดงผลของฟิลด์ สัญลักษณ์ ความหมาย >  แสดงตัวอักษรทุกตัวในฟิลด์เป็นตัวใหญ่ทั้งหมด <  แสดงตัวอักษรทุกตัวในฟิลด์เป็นตัวเล็กทั้งหมด

การกำหนดรูปแบบของค่าที่ป้อนให้ฟิลด์ ตัวอักขระที่ คำอธิบาย ข้อความว่าง จะเพิ่มข้อมูลใดลงไปก็ได้ รับเฉพาะตัวเลข 0 ถึง 9 (ต้องใส่ข้อมูลเสมอ) 9 รับเฉพาะตัวเลข และ Space (ไม่ต้องใส่ข้อมูลก็ได้) # รับเฉพาะตัวเลข, Space, +, - (ไม่ต้องใส่ข้อมูลก็ได้) L รับเฉพาะตัวอักขระ A ถึง Z (ต้องใส่ข้อมูลเสมอ) A รับตัวเลขและตัวอักขระ (ไม่ต้องใส่ข้อมูลก็ได้) & ใส่ตัวอักขระได้ทุกตัวและ Space (ต้องใส่ข้อมูลเสมอ) C ใส่ตัวอักขระได้ทุกตัวและ Space (ไม่ต้องใส่ข้อมูลก็ได้) ! เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จข้อมูลจะถูกจัดชิดขวา

การกำหนดรูปแบบของค่าที่ป้อนให้ฟิลด์ ตัวอักขระที่ คำอธิบาย . , : ; / แสดงเครื่องหมายเหล่านี้ลงไปรวมกับข้อมูลที่กรอก “ตัวอักขระ” แสดงตัวอักขระที่อยู่ในเครื่องหมาย “ “ \ตัวอักขระ แสดงตัวอักขระที่ตามหลัง \ ลงไปรวมกับข้อมูลที่กรอก Password แสดงข้อมูลทั้งหมดที่กรอกด้วยอักขระ

ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการรูปแบบข้อมูลในลักษณะ (055) 412-8965, ( ) 412-8965 เราต้องกำหนดรูปแบบการป้อนเป็น !\(999”)” 000\-0000 โดยสามารถอธิบายการกำหนดคุณสมบัติได้ดังนี้ ! จัดเรียงข้อมูลชิดขอบขวา \( จะแสดงสัญลักษณ์ ( 999 ใส่ตัวเลข 3 ตัว จะใส่หรือไม่ใส่ก็ได้ “) ” แสดงเป็นสัญลักษณ์ ) กับเว้นวรรค (Space) 000 ใส่ตัวเลข 3 \ - แสดงสัญลักษณ์ – 0000 ใส่ตัวเลข 4 ตัว ต้องใส่เท่านั้น