หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
การวางแผนและการดำเนินงานส่งเสริม
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
โครงสร้างที่ ก.พ. กำหนดไว้เดิม โครงสร้างที่ขอปรับปรุงใหม่
โครงการ พัฒนาศักยภาพสหกรณ์ แบบเบ็ดเสร็จตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการเงินอุดหนุนทั่วไป ภายใต้แผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2555
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
ความจำเป็นในการสร้างความสัมพันธ์ ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
เพื่อการกำหนดระดับตำแหน่ง
การสร้างผู้ชำนาญการด้าน IT Auditor ประจำปี 2554
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
การใช้ระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการวางแผน พัฒนาพื้นที่ในเขตปฏิรูปที่ดิน
กลุ่มที่ 6 การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดที่ดิน
สำนักจัดการปฏิรูปที่ดิน
โครงการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่ ผ่านกลไกสถานบันศึกษา
โครงการศูนย์บริการประชาชนเคลื่อนที่ในเขตปฏิรูปที่ดินจังหวัดกระบี่
งานศูนย์ศิลปาชีพบางไทร อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
การพัฒนาองค์ความรู้ และการบูรณาการพัฒนา ขั้นพื้นฐาน.
ปฏิรูปที่ดิน ปฏิรูปเกษตรกร Management reform
ประเด็นที่ 1 ให้ทบทวนโยบายแนว ทางการดำเนินงานที่ ผ่านมา ของ ส. ป. ก. พร้อมทั้งวิเคราะห์ ปัญหาอุปสรรค และ แนวทางแก้ไข 1. กิจกรรมการจัดที่ดินและคุ้มครองพื้นที่
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
ประชุมสร้างความเข้าใจ นำนโยบายสู่การปฏิบัติ โครงสร้าง และแผนปฏิบัติการ
การจัดเก็บข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน
กลุ่ม 3 ผู้นำเสนอ นายปรีชา คงเกลี้ยง เกษตรอำเภอเมืองชลบุรี
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
รายละเอียดประสบการณ์ภาคสนาม (Field Experience Specification)
ศูนย์ศึกษาและพัฒนาลำไยหริภุญชัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายงานการดำเนินงาน โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน ภายใต้โครงการเพิ่มศักยภาพผู้ว่างงาน ศูนย์สารสนเทศ.
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
ศูนย์ส่งเสริมวิศวกรรมเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนาท
ระบบส่งเสริมการเกษตร
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดกระบี่ (พืชสวน)
โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและ ได้มาตรฐาน ปีงบประมาณ 2553
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
โครงการ ส่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัย(พืชผัก)
วิจัยเพื่อชุมชน : การประเมินและถ่ายทอดเทคโนโลยีเกษตรยั่งยืน
การสำรวจติดตามสถานการณ์ศัตรูพืช
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การจัดการเรียนรู้/ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
ITกับโครงการ Food safety
(พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว)
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การเขียนข้อเสนอโครงการ
“ การตรวจราชการ บูรณาการเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพระบบบริหาร ”
การยกระดับคุณภาพการศึกษา สู่การปฏิบัติ
การนำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิบัติเพื่อส่งเสริมการจัดการศึกษาวิชาชีพ เพื่อการมีงานทำ.
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม เลขาธิการ ส.ป.ก. 1,995
การสัมมนากลุ่มย่อย เรื่อง แนวทางและวิธีการลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตร แนวทางการปฏิบัติงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ ภายใต้การสร้างต้นแบบการทำงานร่วมกัน.
แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2550 – 2552) องค์การบริหารส่วนตำบลทางเกวียน
เพื่อช่วยหาความสัมพันธ์ของ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และกำหนด เขตของพื้นที่เป้าหมาย และ ขอบเขตงาน รูปแบบ เดิม แผ่นใส ซ้อนทับ ปัจจุบัน GIS.
โรงแรมนนทบุรีพาเลซ จังหวัดนนทบุรี 8-9 มีนาคม 2557.
กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น เขตพื้นที่การศึกษา เชียงรายเขต 1
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
แผนการดำเนินงาน หน่วยงานการพยาบาลวิสัญญี
การสร้างสื่อ e-Learning
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวัดนครศรีธรรมราช
A.L.T.C. 12/1 เสฏฐนันท์ อังกูรภาสวิชญ์ L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หัวข้อสัมมนา กลุ่มที่ 3 การฝึกอบรมของ ส. ป. ก. ควร อบรมอย่างไรบ้าง ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ ควรจัดทำ หลักสูตรอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่น ใหม่ จะทำอย่างไร การดำเนินงานพัฒนาการอนุรักษ์ และฟื้นฟูฯ จะทำอย่างไร

กลุ่มเป้าหมาย 2 กลุ่ม : กลุ่มข้าราชการใหม่ กลุ่มข้าราชการใหม่ ( เจ้าหน้าที่บรรจุใหม่ / เปลี่ยนตำแหน่งใหม่ / ยัง ไม่ได้รับการอบรม ) กลุ่มข้าราชการเก่า การฝึกอบรมของ ส. ป. ก.

การฝึกอบรม ส. ป. ก. การ ฝึกอ บรม หลัก สู ต ร เงื่อน ไ ข วัตถุประสงค์ระยะเวลาเนื้อหาสาระ กลุ่มฯ ใหม่ ทั่วไปบังคับสร้างความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับ ส. ป. ก. 10 – 15 วันระเบียบต่างๆของงานสาร บรรณ / ระเบียบการพัสดุ / พ. ร. บ. การ ปฏิรูปที่ดินฯ สร้างความสัมพันธ์ ระหว่าง เจ้าหน้าที่ ด้านช่าง / Base Map / การ จัดการเชิงตัวเลข / การ แปลภาพถ่ายทางอากาศ ภาพถ่ายดาวเทียม ศึกษาและเรียนรู้ ประสบการณ์ กองทุน ( ระเบียบวิธีปฏิบัติ ) การให้บริการที่ดี กลุ่มฯ เก่า ทั่วไปบังคับเรียนรู้เพิ่มเติม / เพิ่ม ทักษะ 10 วัน เฉพาะ ท าง สมัคร ใ จ ทบทวนขึ้นอยู่กับ สาขา วิชาชีพ อบรมเข้มข้น / เชิงลึกแยกตาม สาขาวิชาชีพ

วิทยากร เจ้าหน้าที่ส. ป. ก. ที่มีประสบการณ์ หรือ ทักษะในการปฏิบัติงานและสามารถ ถ่ายทอดความรู้ได้ บุคคลภายนอก ( ผู้รู้ รู้จริง รู้ลึก มืออาชีพ ) วิธีการ อบรมทั้งภาคทฤษฎี ปฏิบัติ และศึกษาดูงาน อบรมผ่าน IT โดย สพท. ( เนื้อหาสาระที่ จำเป็นสำหรับการปฏิบัติงาน – มีการ ปรับเปลี่ยนสาระสม่ำเสมอ ประชาสัมพันธ์ ให้ทราบทั้งส่วนกลางและส. ป. ก. จังหวัด ) การฝึกอบรม ( ต่อ )

การติดตามประเมินผล Pre – Post test โดย วิทยากรผู้บรรยาย ประเมินผลโดย สพท. – จัดทำ แบบสอบถามเพื่อประเมินผู้เข้า รับการอบรม = อบรมซ้ำ ? การฝึกอบรม ( ต่อ )

ประชาสัมพันธ์คัดกรองผู้เข้าร่วมโครงการ เช่น – คุณสมบัติ – เงื่อนไขและวิธีการเข้าร่วมโครงการ – เป้าหมายโครงการ คัดเลือกบุคคลเป้าหมาย โดย จัดลำดับ ความสำคัญกลุ่มเป้าหมาย ( ตามลำดับ ) ลูกหลานเกษตรกร ในเขตส. ป. ก, ผู้ถูกเลิกจ้าง / ว่างงาน, นักศึกษาที่จบด้าน การเกษตร ลูกหลานเกษตรกร ในเขตส. ป. ก, ผู้ถูกเลิกจ้าง / ว่างงาน, นักศึกษาที่จบด้าน การเกษตร เตรียมความพร้อมของพื้นที่ = ปรับปรุงโครงสร้าง พื้นฐาน / จัดหาแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร หลักสูตรการอบรม – สอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย – เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ ( พืช สัตว์ ประมง ) การดำเนินงานพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่

1. งานอนุรักษ์ฯและฟื้นฟู พื้นที่ - ป่าชุมชน, ที่สาธารณะ พื้นที่ - ป่าชุมชน, ที่สาธารณะ การจัดการ - โดยชุมชนมีส่วน ร่วม 2. งานส่งเสริมการปลูกไม้เศรษฐกิจ พื้นที่ - แปลงเกษตรกร พื้นที่ - แปลงเกษตรกร การสนับสนุน ไม่เกิน 20% ของพื้นที่ การสนับสนุน ไม่เกิน 20% ของพื้นที่ การจัดการ - เกษตรกร : ชนิดของพันธุ์ไม้ ขึ้นกับความ เหมาะสม ของพื้นที่ การพัฒนา การอนุรักษ์ และฟื้นฟู สภาพแวดล้อมในเขตปฏิรูปที่ดิน

จบการนำเสนอ