สาขา การบริหารการศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตาม และประเมินโครงการ.
Advertisements

สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555 สรุปการประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 4-5 เมษายน 2555.
การวิเคราะห์งานวิจัย เรื่อง การพัฒนารูปแบบการประเมินประสิทธิผลองค์การภาครัฐเกี่ยวกับการศึกษาอาชีพนอกระบบโรงเรียน จัดทำโดย นายพิสณุ ฟองศรี หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต.
การศึกษาความพึงพอใจของ
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
สรุปการประชุม เขต 10.
แนวทางการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.
ชื่อเรื่อง การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสามมิติเพื่อพัฒนาการเรียน การสอนหน่วยที่ 1 การบำรุงรักษาเครื่องยนต์เล็ก วิชางานเครื่องยนต์เล็ก รหัส
การนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
ความคิดเห็นที่มีต่อการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของ บุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยี ฐานเทคโนโลยี บรรยวัสถ์ สินทรัพย์
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต อำเภอเมือง จังหวัด ภูเก็ต
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
01 WINTER ชื่อเรื่องวิจัย การดำเนินงานนิเทศภายในของ โรงเรียนศรีธนาพณิชยการเทคโนโลยี เชียงใหม่ Template ชื่อผู้วิจัย นางศิริรัตน์ ชุมสาย ณ อยุธยา.
การใช้วิธีสอนแบบซินดิเคทในการสอนวิชาภาษาไทย
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดอุดรธานี
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
ผู้วิจัย นางบุปผา แย้มชุติ
การวิจัยการบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ ดร. สุจิตรา ธนานันท์
ผลงานวิจัยเรื่อง “ การพัฒนาบุคลิกภาพโดยใช้แบบฝึกปฏิบัติของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1-3 ( ปวช.1-3 )สาขาวิชาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โรงเรียนเทคโนโลยีชลบุรี
งานวิจัย เรื่อง การใช้ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์
การใช้สื่อแบบฝึกทักษะภาพสาม
ผู้วิจัย : ว่าที่ร้อยโทนรินทร์ ดารุณศิลป์
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาโปรแกรมประยุกต์ทางคอมพิวเตอร์ โดยใช้หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2 สาขาคอมพิวเตอร์วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ.
ชื่อเรื่อง แรงจูงใจของนักศึกษาในการเลือกเรียนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาบริหารธุรกิจบัณฑิต ผู้วิจัย นางสาวณัฐกานต์ ภูแฝก.
โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนาเชียงใหม่
นายสุชาติ ประวัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค)
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
ผู้วิจัย : นางอรัญญา อนุจารีวัฒน์ สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจของครูผู้สอน ต่อการบริหารสถานศึกษาของวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางกุสุมา หาญกล้า.
นางสาวกานณภา ทองเกิด สถานศึกษาที่สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเจ้าพระยา
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
วิจัยในชั้นเรียน โดย อาจารย์ ปรารถนา นามบุรี
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีเจริญมิตรพณิชยการ
การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร เพื่อพัฒนาความพร้อมในวิชาชีพ
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการหาดใหญ่
นางรัชนี กิจฉวี วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
ศึกษาการสอนแบบการฟังและพูดของครูกับนักศึกษา
วิทยาลัยอาชีวศึกษาโปลีเทคนิคระยอง
นายเสกสรรค์ ปัญญาฐานะ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
นางสาวกาญจนา เลิศรุ่งรัศมี
นางสาวเบญริสา ทองจำรูญ วิทยาลัยเทคโนโลยีจรัลสนิทวงศ์
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้เรียนชั้นปวช.1
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ชื่อเรื่อง บทเรียนการสอนโดยใช้ E-Learning วิชาบัญชีต้นทุน 1 ของ นักศึกษา ระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ผู้วิจัย อาจารย์กุลรภัส ปองไป
ชื่อผลงานวิจัย ความพึงพอใจต่อการใช้อาคารและสถานที่ของนักเรียน-นักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ นนทบุรี ชื่อผู้วิจัย นางอรอนงค์ ชูศรี
ผู้วิจัย : นางสาวพรรณภา สรสิทธิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีธีรภาดา
ผลงานวิจัยเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะแก้ปัญหาทางสถิติเรื่องตารางแจกแจงความถี่ สำหรับนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ”
ผู้วิจัย นางสาวนิตญา จุทาชื่น วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ
ชื่อเรื่อง ความคิดเห็นที่มีต่อการเรียนการ สอน สาขาวิชาการจัดการทั่วไป ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นสูง ผู้วิจัย นางเยาวลักษณ์ อา ลักษณสุวรรณ.
การศึกษาความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนบริหารธุรกิจอยุธยา A Study Of Job Satisfaction Of Ayutthaya Business Administration School Employees.
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล บริหารธุรกิจ ชื่อเรื่อง : การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา ภาษาไทยของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยี
ชื่อผลงานวิจัย : การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ของนักศึกษาระดับชั้น ปวช.2 ผ่านการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ ชื่อผู้วิจัย : นางสาวยุพารัตน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สาขา การบริหารการศึกษา   ผลงานวิจัยเรื่อง ความคิดเห็นของครูและบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานบุคลากรของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน สำนักบริหารยุทธศาสตร์ และบูรณาการการศึกษาที่ 3 ผู้นำเสนอ นางพรทิพย์ โพธิ์บัว สาขา การบริหารการศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีละโว้

ปัญหาของการวิจัย จากการศึกษางานวิจัยและเหตุผลของการทำวิจัยครั้งนี้ วิทยาลัยอาชีวะเอกชน ในพื้นที่สำนักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาที่ 3 พบปัญหาของการบริหารพัฒนาบุคลากรด้านอาชีวศึกษาคือ1. ขาดขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงานอย่างดี 2. การธำรงรักษาคนเก่งคนดี ให้ปฏิบัติงานในสถานศึกษาเอกชนอย่างยาวนาน 3. การพัฒนาส่งเสริมความรู้ ความสามารถ ให้ตรงกับสาขาที่สอน 4. การบริหารจัดการคนอย่างเหมาะสม (ครูลาออกเป็นประจำ) 5. ประเมินผลงานอย่างยุติธรรม มีผลตอบแทนครูและบุคลากรอย่างเป็นที่พอใจที่จะปฏิบัติงานกับวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูและบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานบุคลากรของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน 2. เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูและบุคลากรจำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส วุฒิการศึกษา ตำแหน่ง สาขาที่สำเร็จการศึกษา สาขาที่สอน ประสบการณ์ในตำแหน่ง อัตรารายได้ต่อเดือน และขนาดสถานศึกษา กรอบแนวความคิดในการวิจัย กรอบแนวคิดจากลูเนนเบอร์ก,และออนสไตน์ (Lunenburg, & Ornstein, 2000, pp 517-518) 1) การวางแผนบุคลากร 2) การสรรหาบุคลากร 3) การคัดเลือกบุคลากร 4) การพัฒนาบุคลากร 5) การธำรงรักษาบุคลากร 6) การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร

สรุปผลการวิจัย 1. ความคิดเห็นของครูและบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานบุคลากรของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน สำนักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาที่ 3 ในภาพรวมและทุกรายด้านมีเกณฑ์อยู่ในระดับมาก เรียงตามลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อยคือ ด้านการคัดเลือกบุคลากร ด้านการพัฒนาบุคลากร ด้านการวางแผนบุคลากร ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร ด้านการสรรหาบุคลากร และด้านการธำรงรักษาบุคลากร ตามลำดับ 2. ความคิดเห็นของครูและบุคลากรที่มีต่อการบริหารงานบุคลากรของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน สำนักบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาที่ 3 แตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อจำแนกตามสาขาที่สอน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เมื่อจำแนกตามสาขาที่สำเร็จการศึกษา และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 เมื่อจำแนกตามขนาดสถานศึกษา แต่ไม่แตกต่างกันเมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส วุฒิการศึกษา ตำแหน่ง ประสบการณ์ในตำแหน่ง และอัตรารายได้ต่อเดือน

ข้อเสนอแนะ. 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะทั่วไป แนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพความคิดเห็นของครูและบุคลากร 1.1 ด้านการวางแผนบุคลากรควรวิเคราะห์เป็นปริมาณงานภาพรวมของ สถานศึกษา สำหรับใช้ในการวางแผนบุคลากรได้ถูกต้อง 1.2 ด้านการสรรหาบุคลากรควรมีการวิเคราะห์วางแผนสรรหาอัตรากำลังของ สถานศึกษา 1.3 ด้านการคัดเลือกบุคลากรกำหนดให้ชัดเจน 1.4 ด้านการพัฒนาบุคลากรควรมีการสำรวจข้อมูลความต้องการเพื่อวางแผน พัฒนาบุคลากร 1.5 ด้านการธำรงรักษาบุคลากรควรวางแผนการบริหารจัดการให้เกิดความ เหมาะสมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน 1.6 ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรกำหนดจุดมุ่งหมายของการ ประเมินผลอย่างชัดเจนผลการประเมินที่ถูกต้องและเป็นธรรม

2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป. 2 2. ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการเพิ่มขอบเขตประชากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องให้ ครอบคลุมทุกภาคส่วน โดยเฉพาะผู้บริหารสถานศึกษา เป็นผู้วางแผนการบริหารงานบุคลากรของสถานศึกษา โดยตรง 2.2 ในด้านการธำรงรักษาบุคลากรมีค่าเฉลี่ยการดำเนินงาน ต่ำสุด จึงควรมีการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งผลต่อ แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร เพื่อให้ได้ข้อมูล ในการวางแผนพัฒนาการบริหารงานเกี่ยวกับการธำรง รักษา สร้างขวัญกำลังใจให้กับบุคลากร เพื่อปฏิบัติงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพและยาวนาน