ประเภทของไฟล์เสียงเสียง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศิลปหัตกรรมนักเรียน ปี2552 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา นครปฐมเขต 2
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Synchronous DRAM (SDRAM) SDRAM นี้ จะต่างจาก DRAM เดิม ตรงที่มันจะทำงานสอดคล้องกับสัญญาณนาฬิกา โดยมีช่วงเวลาในการเข้าถึงข้อมูล ตามที่เราๆมักจะได้เห็นบน.
Chapter 6 : Video.
Chapter5:Sound (เสียง)
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
….E-Book สนุกสนาน…..
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์.
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
Web Design and Implementation
ประโยชน์และโทษของการใช้งานคอมพิวเตอร์
Flash Drive.
Welcome.
ปฏิบัติการที่ 13 การใช้งาน Online Bookmarking
TelecommunicationAndNetworks
DSL : Digital Subscriber Line
การนำเสนอสื่อประสม.
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ.
วีดิทัศน์กับสื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่น นักวิชาการโสตทัศนศึกษา
ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
ไม่ใช่อินเทอร์เน็ตทีวี
On Win 7 + Win XP + 10 Media player ปรับปรุง 10 มิถุนายน 2557
การติดตั้ง จัดการแฟ้มเสียง บันทึกเสียง และ effect
CDEX => MP3 โปรแกรมบันทึกเสียงขนาดเล็ก ปรับปรุง 10 มิถุนายน
การตรวจสอบโฆษณาทางคลื่นวิทยุ
Principle of Graphic Design
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
ระบบปฏิบัติการ ( Operating System : OS )
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การจัดการไฟล์ เสียง ของงานเทคโนโลยีและโสตทัศนศึกษา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประภากร นนทลักษณ์ กรกฎาคม 2553.
โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้
ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.
หลักสูตรสู่ความสำเร็จใน 90 วัน
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
สื่อการเรียนการสอน รายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
การเพิ่มลูกเล่นให้กับเว็บเพจ
โดย นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
รายวิชา คอมพิวเตอร์กราฟิก
นางสาวเบญจมาศ รัตน์พิทักษ์
. ในเว็บเพจนั้นมีเพียง 3 ชนิด ซึ่งเว็บบราวเซอร์ส่วน ใหญ่จะสนับสนุนฟอร์แมตของรูปภาพ GIF, JPG, PNG.
งานนำเสนอ power point วิชา cp101 เรื่อง ซอฟต์แวร์ที่สนใจ
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
โหมดสี ใน Photoshop เรื่องของสีมีความสำคัญอย่างมากในการใช้งานโปรแกรม Photoshop เพราะจะมีผลกับภาพที่เราต้องการปรับแต่งโดยตรง เราสามารถกำหนดโหมดสีใน รูปแบบต่างๆ.
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
นางสาวพัชรี เทพกัน รหัส
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
ชื่อโปรแกรม โปรแกรมช่วยดาวน์โหลดที่ดีที่สุด นางสาว อรอุมา สร้อยจรุง เลขที่ 15 ชั้น ปวช. 2/2.
โครงงาน เรื่อง แนวคิดเทคโนโลยีในอนาคต จัดทำโดย น. ส
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
บทที่ 9 ซอฟต์แวร์ประยุกต์บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
การสืบค้นข้อมูล. =? Search Engine ? เครื่องมือในการช่วย ค้นหาข้อมูล ทาง Internet Search Engine.
หลักการบันทึกเสียง.
ซอฟต์แวร์ที่สนใจ นางสาว อุทัยวรรณ อำพันขาว PE 32 ID
ระบบ 3.9G จัดทำโดย นางสาวพนิดาเรืองบุญญา ม.5/6 เลขที่ 2.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเภทของไฟล์เสียงเสียง โดย คุณครูอิทธิพล ฤาชากุล

ประเภทของไฟลล์เสียง ในงานคอมพิวเตอร์นั้น มีไฟล์เสียงหลายประเภทด้วยกัน แต่ละประเภทก็มี คุณสมบัติต่างกันออกไป ทำให้เราควรรู้จักกับไฟล์เสียงประเภทต่างๆ จะได้เลือกใช้ งานให้เหมาะสมกับงานของเราได้ ไฟล์เสียงบางชนิดอาจใชงานได้กับบางโปรแกรม เท่านั้น หรือบางชนิดอาจใช้งานได้กับหลายๆโปรแกรม ผมจะขออธิบายไฟล์เสียงที่ มักจะได้พบเห็นกันบ่อยๆดังนี้

MIDI (.mid) MIDI (.mid) ย่อมาจาก Musical Instrument Digital Interface เป็นไฟล์ที่ไม่สามารถบันทึกเสียงร้องได้ เพราะเป็นไฟล์ที่เก็บคำสั่ง ที่ส่งไปให้อุปกรณ์ดนตรีแสดงเสียงออกมาตามข้อมูลที่อยู่ข้างในได้ ทำให้อุปกรณ์ ดนตรีที่ต่างกัน เมื่อได้ทำงานกับไฟล์ midi อันเดียวกัน อาจทำเสียงออกมาไม่ เหมือนกันก็ได้ แต่ไฟล์แบบนี้เป็นที่นิยมมาก เพราะมีขนาดเล็ก และแก้ไขได้ง่าย สามารถประยุกต์ให้ midi เหล่านี้ออกมาเป็นเสียงดนตรีจริงๆได้ ดังนั้นคุณภาพ เสียงที่อ่านได้จาก midi จะดีแค่ไหน จึงขึ้นอยู่กับ sound card (support midi) หรือ อุปกรณ์+software ประเภท synthesizer

WAVE (.wav) WAVE (.wav) เป็นไฟล์เสียงที่ได้มาจากการบันทึกเสียง แล้วเก็บไว้ใน ระบบดิจิตอล ทำให้เราสามารถนำไฟล์เหล่านี้ไปประยุกต์ใช้งานต่างๆต่อได้อีก ไม่ ว่าจะเป็นการปรับแต่งเสียง ผสมเสียง หรือ convert ไปเป็นไฟล์เสียงประเภท อื่นๆได้ (เมื่อทำงานร่วมกับ software) ไฟล์ประเภทนี้มีขนาดใหญ่ เพราะ สามารถเก็บความละเอียดไว้ได้มากเท่าที่เราต้องการโดยไม่มีการบีบอัดข้อมูล (นอกจากว่าจะมาปรับแต่งทีหลัง) เป็นไฟล์เสียงประเภทหนึ่งที่มักจะพบในวงการ ดนตรีมาก (อย่างน้อยที่สุดก็เป็นเสียงของนักร้อง)

CD Audio (.cda) CD Audio (.cda) เป็นไฟล์เสียงที่บันทึกลงบนแผ่นซีดี ใช้เล่นกับเครื่อง เสียงทั่วไป ไฟล์ประเภทนี้มีความคมชัดของสัญญาณมาก เพราะไม่มีการบีบอัด ข้อมูล เพียงเข้ารหัสในระบบ Linear PCM เป็นไฟล์ .cda ที่มักจะตั้งค่า การเก็บข้อมูลเสียงโดยการสุ่มและแปลงสัญญาณไว้ที่ 44,100 ครั้งต่อวินาที ปกติ คอมพิวเตอร์จะไม่สามารถอ่านไฟล์นี้ได้โดยตรง ต้องเล่นผ่านอุปกรณ์อื่นๆ เช่น เครื่องเสียง , ซีดีรอม หรือ software บางชนิด

MP3 (.mp3) MP3 (.mp3) เป็นที่นิยมมากในหมู่นักฟังเพลงทั่วไปในปัจจุบัน เพราะเป็น ไฟล์เสียงที่ถูกบีบข้อมูลให้เล็กลงจากสัญญาณเสียงจริงได้ถึง 10 เท่า โดยเรา สามารถเลือกความละเอียดของการเข้ารหัสได้ ทำให้คุณภาพเสียงของไฟล์ประเภท นี้ที่บีบอัดข้อมูลไม่มากนัก มีคุณภาพดีใช้ได้เลยทีเดียว (bitrate 128 Kbps) และเนื่องจากความเล็กของไฟล์ประเภทนี้ทำให้เป็นที่นิยมในการส่งไฟล์ นี้ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตกันด้วย

WMA (.wma) WMA (.wma) เป็นไฟล์เสียงที่ บ.ไมโครซอฟท์ คิดขึ้นมาให้ทำงานร่วมกับ โปรแกรม Windows Media Player ของระบบวินโดว์ สามารถฟัง เสียงผ่านระบบ streaming ได้ คือ ดาวน์โหลดข้อมูลไปด้วย พร้อมกับ ถอดรหัสเสียงให้ฟังไปพร้อมๆกันเลย โดยไม่ต้องรอให้ดาวน์โหลดครบ 100% ส่วน คุณภาพเสียงนั้นมีความละเอียดสูงไม่แพ้ mp3 128 Kbps เลย แต่จะมี ขนาดเล็กกว่า mp3 ที่ความละเอียดเสียงพอๆกัน เพราะเข้ารหัสแบบ bitrate 64 Kbps (ครึ่งเดียว) ปัจจุบันเครื่องเสียงบ้านและรถยนต์ได้หัน มารองรับไฟล์ระบบนี้มากขึ้นแล้ว

Real Audio (.ra) Real Audio (.ra) เป็นไฟล์เสียงที่ทำงานคู่กับโปรแกรม Real Player เน้นการทำงานแบบ Streaming สามารถฟังเสียงและดูภาพ ขณะกำลังดาวน์โหลดข้อมูลได้พร้อมๆกันเลย มีหลายความละเอียดให้เลือกหลาย ระดับ เป็นที่นิยมในหมู่นักดูหนังฟังเพลงในอินเตอร์เน็ตมาก

Audio Streaming Format (.asf) Audio Streaming Format (.asf) เป็นไฟล์เสียงหนึ่งที่มี รูปแบบ Streaming ที่เน้นส่งข้อมูลเสียงแบบ real time ใช้กันมาก ในการฟังวิทยุออนไลน์บนอินเตอร์เน็ต

Audio Interchange File Format (.aif , .aiff) Audio Interchange File Format (.aif , .aiff) เป็น ไฟล์ลักษณะคล้ายไฟล์ Wave แต่ใช้สำหรับเครื่อง Macintosh

ACC (.acc) ACC (.acc) เป็นไฟล์เสียงที่มีคุณภาพสูงมาก สุ่มความถี่ได้ถึง 96 kHz รองรับอัตราการเล่นไฟล์สูงถึง 576 Kbps สามารถแยกเสียงได้ถึงระบบ 5.1 ช่อง เทียบเท่า Dolby Digital หรือ AC-3

Q&A "Some dream of worthy accomplishments, while others stay awake and do them." - - Anonymous - - “บางคนฝันที่จะประสบความสำเร็จอย่างสวยหรู ในขณะที่บางคนกำลังลงมือกระทำ”

งานปลายภาค ให้นักเรียนทำรายงานเรื่อง “ภัยเงียบจากโลกไซเบอร์” 20 คะแนน ให้นักเรียนทำรายงานเรื่อง “ภัยเงียบจากโลกไซเบอร์” 20 คะแนน กลุ่มเดิม (spot radio) ส่ง 6 กันยายน 2553