ยุทธศาสตร์จังหวัดชัยนาท เมืองเกษตรมาตรฐาน สืบสานคุณภาพชีวิต
ประเด็นยุทธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์ : 1. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้านการเกษตร ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ได้แก่ (1) การพัฒนาองค์ความรู้และสร้างเครือข่ายการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (2) เพิ่มผลผลิตและพัฒนาคุณภาพผลผลิต ให้ปลอดภัยจากสารพิษ (3) การสร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร/ด้านการส่งเสริมการผลิตสินค้า ซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาดและการแปรรูปผลผลิต (4) การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต
ประเด็นยุทธศาสตร์ : 2. การสร้างโอกาสและกระจายรายได้ ประกอบด้วย 5 กลยุทธ์ ได้แก่ (1) การพัฒนาอาชีพและขยายโอกาสการค้าและการลงทุน (2) การพัฒนาการตลาด และระบบ Logistic (3) การพัฒนาคุณภาพและเพิ่มมูลค่าสินค้า/ผลผลิตของชุมชนและการตลาด (4) ส่งเสริมการท่องเที่ยวทุกรูปแบบ (5) พัฒนาบริหารจัดการและความพร้อมของผู้ประกอบการและผู้ผลิต
ประเด็นยุทธศาสตร์ : 3. การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชนเข้มแข็งประกอบด้วย 5 กลยุทธ์ ได้แก่ (1) การพัฒนาคนให้มีความรู้ มีคุณธรรมจริยธรรมและจิตสาธารณะ (2) การเสริมสร้างสุขภาวะให้คนมีสุขภาพทั้งกายและใจ (3) การบริหารจัดการกระบวนการชุมชนเข้มแข็ง (4) การสงเคราะห์ผู้ถูกทอดทิ้ง ผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้ได้รับผลกระทบและผู้สูงอายุ ให้สามารถพึ่งตนเองได้ (5) ส่งเสริมให้สังคมน่าอยู่ มีความปลอดภัยและปลอดยาเสพติด
ประเด็นยุทธศาสตร์ : 4. การดูแลทรัพยากรธรรมชาติและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ได้แก่ (1) การดูแลและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสำคัญของจังหวัด (2) การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำที่มีประสิทธิภาพ (3) การสร้างความหลากหลายทางชีวภาพและเพิ่มคุณค่าภูมิปัญญาท้องถิ่น (4) ส่งเสริมการประหยัดการใช้พลังงานและจัดหาพลังงานอื่นทดแทนเพื่อลดภาวะโลกร้อน
ประเด็นยุทธศาสตร์ : 5. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์ ได้แก่ (1) การพัฒนาหน่วยงานภาครัฐให้มีประสิทธิภาพและธรรมาภิบาล (2) การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจและความร่วมมือระหว่างภาครัฐและ ภาคเอกชน (3) การกระจายอำนาจการพัฒนาสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและชุมชน(4) การส่งเสริมให้องค์กรเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการภาครัฐ
ความสอดคล้องของยุทธศาสตร์จังหวัดกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่10 แผนฯ ชาติ ฉบับที่ 10 ยุทธศาสตร์จังหวัด 1. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้าน การเกษตร (3) 1. การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่ สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ 2. การสร้างโอกาสและกระจายรายได้ (2,3) 2. การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและ สังคมให้เป็นรากฐานที่มั่นคงของประเทศ 3. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและ ยั่งยืน 3. การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชน เข้มแข็ง (1,2) 4. การพัฒนาบนฐานความหลากหลายทาง ชีวภาพ และการสร้างความมั่นคงของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. การดูแลทรัพยากรธรรมชาติและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม (4) 5. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (5) 5. การเสริมสร้างธรรมาภิบาลในการบริหาร จัดการประเทศ
ความสอดคล้องของยุทธศาสตร์จังหวัดกับยุทธศาสตร์กระทรวงพาณิชย์ 1. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้าน การเกษตร (2) 1. การพัฒนา ผู้ประกอบการและส่งเสริม ธุรกิจ 2. การจัดการด้านตลาดและราคาสินค้าเกษตร 2. การสร้างโอกาสและกระจายรายได้ (1,2,3,4,5) 3. การสร้างมูลค่า 3. การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชน เข้มแข็ง (6) 4. การพัฒนาให้บริการโลจิสติกส์แก่ธุรกิจ การค้า 5. การพัฒนาตลาดและยกระดับสู่สากล 4. การดูแลทรัพยากรธรรมชาติและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม 6. การคุ้มครองผู้บริโภค 5. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (7) 7. การสร้างธรรมาภิบาล
ความสอดคล้องของยุทธศาสตร์จังหวัดกับยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข 1. การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตด้าน การเกษตร (3) 1. สร้างการเรียนรู้ และความสามารถในการ จัดการของชุมชน 2. การสร้างโอกาสและกระจายรายได้ (2,3) 2. กำหนดตำแหน่งการพัฒนาอาชีพของชุมชน ภายใต้ระบบกลไกการตลาด 3. การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมสู่ชุมชน เข้มแข็ง (1,2) 3. พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน (OTOP) 4. การดูแลทรัพยากรธรรมชาติและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม (4) 4. สนับสนุนชุมชนให้มีบทบาทรองรับความ อ่อนแอของระบบครอบครัวไทย 5. การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (5) 5. การดูแลความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของชุมชน