“ปรีชา....” มาเล่า.... สู่กันฟัง....
“กระบวนทัศน์ผู้นำ/ผู้บริหาร”
คนสอง...มีอะไรที่ต่างกัน ต่างกันอย่างไร.....
เปลี่ยนความคิด... ชีวิตก็เปลี่ยน คนเราคิดไม่เหมือนกัน ต่างที่ความคิด.... ชีวิตก็ต่างกัน เปลี่ยนความคิด... ชีวิตก็เปลี่ยน
แต่เลือกความคิดของตนเองได้ ...เท่ากับเลือกชีวิต คนเราเลือกงานที่ทำไม่ได้ เลือกอะไรหลาย ๆ อย่างไม่ได้ แต่เลือกความคิดของตนเองได้ ...เท่ากับเลือกชีวิต เพราะ..เพียงปลี่ยนความคิด...ชีวิตก็จะเปลี่ยน
มีความคิดชั่ว ก็ทำชั่ว ความคิด..คือเข็มทิศ ในการทำงาน- การดำรงชีวิต มีความคิดดี ก็ทำดี มีความคิดชั่ว ก็ทำชั่ว มีความคิดถูก ก็ทำถูก
กระบวนทัศน์-การมองเห็น ขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ได้รับ
เห็นต่างกัน รู้ต่างกัน มองเป้าหมายที่ต่างกัน คิดเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน มุมมองที่ต่างกัน เห็นต่างกัน รู้ต่างกัน มองเป้าหมายที่ต่างกัน คิดต่าง ชีวิตต่าง คิดเปลี่ยน ชีวิตเปลี่ยน
วาระแห่งความจำเป็น 1.การลดปัญหาความยากจนและการ กระจายรายได้ 1.การลดปัญหาความยากจนและการ กระจายรายได้ 2.การพัฒนาขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศ 3.การพัฒนาคุณภาพชีวิตและทุนทางสังคม
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การปฏิบัติงานให้ดีนั้น กล่าวอย่างสั้น ง่าย และตรงที่สุด คือทำให้สำเร็จทันการ และ ให้ได้ผลเป็นประโยชน์แต่ทางเดียว ซึ่งจะทำได้เมื่อบุคคล มีวิชา ความสามารถ และมีปัญญา ความรู้ คิดพิจารณา เห็นสิ่งที่ เป็นคุณ เป็นโทษ เป็นประโยชน์ มิใช่ประโยชน์ อย่างชัดเจน ถูก ตรง
พระบรมราโชวาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เกียรติและความสำเร็จ เกิดจากผล การปฏิบัติงาน และการปฏิบัติตัวของแต่ละคน ที่สามารถปฏิบัติงาน ในความรับผิดชอบ ให้ได้ผลสมบูรณ์ ตรงตามวัตถุประสงค์ และปฏิบัติตัวให้สุจริต เที่ยงตรง พอควรพอดี แก่ตำแหน่งหน้าที่ที่ดำรงอยู่
ผู้นำไม่ใช่ผู้ที่จะนำคนอื่น คือผู้ที่คนอื่นอยากเดินตาม แต่ผู้นำที่ดี คือผู้ที่คนอื่นอยากเดินตาม อานันท์ ปันยารชุน
อช./ผู้นำ อช. อาสาพัฒนาชุมชน ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชน
เรา รู้จักตัวเราเอง ดีหรือยัง แค่ไหน..อย่างไร..
โครงการพัฒนาอาสาพัฒนาชุมชน การก่อเกิด โครงการพัฒนาอาสาพัฒนาชุมชน ๑.ตามมติ ครม.เมื่อวันที่ ๒๘ มกราคม ๒๕๑๒ ๒.คัดเลือกบุคคลในหมู่บ้านที่มีคุณสมบัติและมีลักษณะเป็นผู้นำ จิตใจเสียสละ ๓.เป็นอาสาพัฒนาชุมชน(อช.) และผู้นำอาสาพัฒนาชุมชน(ผู้นำ อช.) ๔.ทำหน้าที่ในการขับเคลื่อนกิจกรรมพัฒนาชุมชน ๕.มีระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอาสาพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๗ แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ และฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๕
ความหมายและความสำคัญ อาสาพัฒนาชุมชน (อช.) คือ อาสาสมัครของชุมชนที่ถูกคัดเลือกจากเวทีประชาคมของหมู่บ้าน หมู่บ้านละไม่น้อยกว่า ๔ คน มีสัดส่วนชาย – หญิง ใกล้เคียงกัน ผู้นำอาสาพัฒนาชุมชน (ผู้นำ อช.) คือ อาสาพัฒนาชุมชน (อช.) ที่ได้รับคัดเลือกจากเวทีประชาคมอาสาพัฒนาชุมชน(อช.) ให้เป็นผู้นำอาสาพัฒนาชุมชน(ผู้นำ อช.) ตำบลละ ๒ คน เป็นชาย ๑ คน เป็นหญิง ๑ คน ให้ปฏิบัติหน้าที่ในการประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การปฏิบัติงานของอาสาพัฒนาชุมชน และงานพัฒนาชุมชน โดยได้รีบค่าตอบแทน
ความหมายและความสำคัญ คุณสมบัติ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอาสาพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๑๐ การพ้นจากตำแหน่ง ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอาสาพัฒนาชุมชนแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๕ ข้อ ๑๔
ความหมายและความสำคัญ หน้าที่ อช. ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอาสาพัฒนาชุมชนแก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๕ ข้อ ๑๖ หน้าที่ผู้นำ อช. ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอาสาพัฒนาชุมชนว่าด้วยการอาสาพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๔๗ ข้อ ๑๗
ความหมายและความสำคัญ วาระการดำรงตำแหน่ง คราวละ ๔ ปี และอาจได้รับเลือกจากเวทีประชาคมฯให้ปฏิบัติงานต่อไปได้อีก ในครั้งนี้ให้ปฏิบัติงานตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ ไปจนครบวาระ
ภารกิจเพิ่มเติม การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การจัดเก็บข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท การขับเคลื่อนแผนชุมชน การขับเคลื่อนศูนย์เรียนรู้ชุมชน การส่งเสริมวิถีประชาธิปไตย การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การแก้ไขปัญหาความยากจน การส่งเสริมอาชีพ การส่งเสริมทุนชุมชน
บุคคลตันแบบ หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบยั่งยืน การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บุคคลตันแบบ รู้จักตัวเอง รู้จักงาน รู้จักชุมชน รู้จักทุนชุมชน หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบยั่งยืน
โครงการยกย่องเชิดชูเกียรติ ปี ๒๕๕๘
โลกแห่ง ที่ต้อง อยู่ ด้วยกัน ข้อควรคำนึง สำหรับ “ผู้นำและนักพัฒนา” โลกแห่ง ขั้วตรงข้าม ที่ต้อง อยู่ ด้วยกัน ชาย-หญิง ผู้นำ-ผู้ตาม น้ำ-ไฟ ป่า-เมือง เกษตร-อุตสาหกรรม ฯลฯ
ชนะ แล้วได้อะไร งานนี้...... ใครได้เปรียบ ใครเสียเปรียบ ใครได้เปรียบ ใครเสียเปรียบ ใครจะเป็นผู้ชนะ ชนะ แล้วได้อะไร
เราควรทำอะไร เราควรทำอย่างไร ข้อควรคำนึง สำหรับ “ผู้นำสังคม” เราควรทำอะไร สร้างโอกาส “ชนะ-ชนะ” ทั้งคู่ เราควรทำอย่างไร มองหา “จุดร่วม-จุดแข็ง” มองผ่าน “จุดต่าง-จุดอ่อน” ของกันและกัน
การเปลี่ยนแปลงที่ ยิ่งใหญ่ เกิดจากสิ่งเล็กๆ เสมอ การเปลี่ยนแปลงที่ ยิ่งใหญ่ เกิดจากสิ่งเล็กๆ เสมอ
ในโลกนี้ ไม่มีคนล้มเหลว ในโลกนี้ ไม่มีคนล้มเหลว มีแต่คนล้มเลิก เท่านั้น
ประตูสู่ความเป็นผู้นำ 1. สมรรถนะการคิด / ตัดสินใจ 2. สุขภาพดี 3. มั่นคง น่าเชื่อถือ 4. ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ เหมาะสม 5. มีเป้าหมายการทำงาน ชีวิต 6. มีสัมพันธภาพกับคนอื่น 7. มีบุคลิกภาพ อัจฉริยภาพ
คุณลักษณะของผู้ใหญ่ 1. รู้จักรัก 2. รู้จักรอ 3. รู้จักพอ 4. รู้จักให้ 5. รู้จักเกรงใจ
งานนำเสนอปรีชา พรหมบุตร 08/04/60 งานนำเสนอปรีชา พรหมบุตร
งานนำเสนอปรีชา พรหมบุตร 08/04/60 งานนำเสนอปรีชา พรหมบุตร
งานนำเสนอปรีชา พรหมบุตร 08/04/60 งานนำเสนอปรีชา พรหมบุตร
งานนำเสนอปรีชา พรหมบุตร 08/04/60 งานนำเสนอปรีชา พรหมบุตร
งานนำเสนอปรีชา พรหมบุตร 08/04/60 งานนำเสนอปรีชา พรหมบุตร
มีประสิทธิภาพ แต่ไม่มีประสิทธิผล ทุกคนมองเห็นเป้าหมายร่วมกันหรือไม่ ท่านคิดว่ามันเกิดจากอะไร ทุกคนทำงานอย่างมีประสิทธิภาพแต่ไม่มีประสิทธิผล เพราะทุกคนมองเห็นเป้าหมายร่วมในการทำงานหรือไม่
ความสำเร็จ “ชุมชนเข้มแข็ง” “ชุมชนยั่งยืน ชุมชนอยู่ดีมีสุข” “ให้เตือนตัวเองว่า ... มาช่วยกันทำงาน” การเรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ภายใต้บรรยากาศที่ไม่เคร่งเครียด.. ผลผลิตที่ได้ ความสำเร็จ “ชุมชนเข้มแข็ง” “ชุมชนยั่งยืน ชุมชนอยู่ดีมีสุข”
ผู้นำ เก่งงาน เก่งคน เก่งคิด เก่งดำเนินชีวิต
คนดี ผู้นำที่ดี หัวหน้าครอบครัวที่น่ารัก มักจะมี ๔ ย คนดี ผู้นำที่ดี หัวหน้าครอบครัวที่น่ารัก มักจะมี ๔ ย ๑ มีความยิ้มแย้มแจ่มใส ๒ มีความคิดยืดหยุ่น ๓ มีการยอมรับและยอมแพ้เป็น ๔ มีการยืนหยัดและยับยั้งความคิดจิตใจเป็น
ไม่มีใครที่จะแก่เกินเรียน โชคดี
พอเพียง พอดี
ส วั ส ดี