IP ADDRESS.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Advertisements

ระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
เรื่อง เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการสืบค้นข้อมูล
IT Central Library KMITL
วิธีการตั้งค่าเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในระบบเครือข่าย
ไปรษณีย์หรือจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
นางสาวมะลิวรรณ ระหูภา
Script Programming& Internet Programming
บทที่ 12 การจดทะเบียนชื่อโดเมน (Domain Name Registration)
TCP/IP Protocols IP Addressing
บทที่ 6 อินเตอร์เน็ต ความเป็นมา.
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนสำหรับผู้ใช้จำนวนไม่เกิน 1000 คน
World Wide Web WWW.
SMTP.
ARP (Address Resolution Protocol)
IP Address เป็นหมายเลขเครื่องคอมพิวเตอร์บนระบบเครือข่าย หน่วยงานกลางที่ทำหน้าที่จัดสรร คือ InterNIC (Internet Network Information Center) ปัจจุบันเป็นเวอร์ชัน.
File Transfer (FTP), WWW, HTTP, DHCP.
การเขียนโปรแกรมบนเว็บ (WEB PROGRAMMING) บทที่ 1 ความรู้เบื้งต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตเวิลด์ไวด์เว็บ และโปรโตคอลที่เกี่ยวข้อง โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
โอฬาริก สุรินต๊ะ CS/MIS
อินเตอร์เน็ต INTERNET.
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ทบทวนความเข้าใจ.
TCP/IP.
What’s P2P.
สิ่งที่ควรรู้ WAN = Wide Area Network ระบบเครือข่ายระดับกว้างไกล
โดย อาจารย์นัณฑ์ศิตา ชูรัตน์
IP Address / Internet Address
ภาพรวมระบบเครือข่าย
วิธีคำนวณการแบ่ง Subnet
คอมพิวเตอร์ ร.ร.จักรคำคณาทร
อินเทอร์เน็ตInternet
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เรื่อง โดเมนเนม โดเมนเนม.
การติดต่อสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต
การแก้ไขปัญหาการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย เบื้องต้น
Network Address Translation (NAT)
ข้อมูลพื้นฐานของระบบ Internet Intranet Extranet
Internet.
CH 9 หมายเลขไอพี และการจัดสรร
Chapter 4 หมายเลขไอพี และการจัดสรร
รายวิชา การออกแบบเว็บไซต์
ภาระกิจด้านสารสนเทศ สำนักงานคณบดี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สมาชิก กลุ่ม 1. นางสาวพรพิรุณ ประจงค์ เลขที่ นางสาววราภรณ์ สี หนาจ เลขที่ นางสาวสุนิสา อบ มาลี เลขที่ 68.
อินเทอร์เน็ต โดย.. ครูสาคร หนูอิน.
พนธกร หาดี (ptk.toomyai.ac.th) 1 ง หน่วยการเรียนรู้ที่ 5.
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น ครู โรงเรียนหนองกี่พิทยาคม
อินเทอร์เน็ต.
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
Uniform Resource Location ( URL)
เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต และเครือข่าย
ISP ในประเทศไทย
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
Domain Name System   (DNS).
© 2007 Cisco Systems, Inc. All rights reserved.Cisco Public 1 Client/Server Architecture หลักสูตรผู้เชี่ยวชาญระบบโครงข่ายการศึกษาขั้น พื้นฐาน (OBEC Network)
การใช้งานอินเตอร์เน็ต
Internet Service Privider
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
NontriNet CA RapidSSL CA
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Network Security.
คำศัพท์ระบบอินเตอร์เน็ต
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
บทที่ 8 เครือข่ายอินเตอร์เน็ต
1. บทนำเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ตมีจุดเริ่มต้นมาจากเหตุผล ทางการทหาร เนื่องจากในยุค สงครามเย็น เมื่อประมาณ พ. ศ 2510 ระหว่างฝ่ายคอมมิวนิสต์ และฝ่ายเสรี
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

IP ADDRESS

คณะผู้จัดทำ น.ส.สิรดา อินทร์ติยะ เลขที่ 31 น.ส.สิรดา อินทร์ติยะ เลขที่ 31 น.ส.สุดารัตน์ ฉุยฉาย เลขที่ 38 น.ส.อรชร เสาวนาม เลขที่ 55

ความหมายของ IP address IP Address คือหมายเลขประจำเครื่องที่ต้องกำหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องและ อุปกรณ์ทุกชิ้นในเครือข่ายเน็ตเวิร์ค โดยมีข้อแม้ว่าหมายเลข IP Address ที่จะกำหนดให้กับคอมพิวเตอร์ จะต้องไม่ซ้ำซ้อนกัน ซึ่ง IP Address จะเป็นตัวอ้างอิงชื่อที่อยู่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง ตัวอย่างเช่น หากคอมพิวเตอร์ A ต้องการส่งไฟล์ข้อมูลไปให้คอมพิวเตอร์ B คอมพิวเตอร์ A จะต้องรู้จักหรือมองเห็นคอมพิวเตอร์ B เสียก่อน โดยการอ้างอิงหมายเลข IP Address ของคอมพิวเตอร์ B ให้ถูกต้อง จากนั้นจึงอาศัยโปรโตคอลเป็นตัวรับส่งข้อมูลระหว่างทั้ง 2 เครื่อง

รูปแบบของ IP address IP Address จะประกอบไปด้วยตัวเลขจำนวน 4 ชุด ระหว่างตัวเลขแต่ละชุดจะถูกคั่นด้วยจุด " . " เช่น 192.168.0.1 โดยคอมพิวเตอร์จะแปลงค่าตัวเลขทั้ง 4 ชุดให้กลายเป็นเลขฐาน 2 ก่อนจะนำค่าที่แปลงได้ไปเก็บลงเครื่องทุกครั้ง IP Address จะประกอบด้วยตัวเลข 2 ส่วน คือ 1.ส่วนที่ใช้เป็นหมายเลขเครือข่าย (Network Address) 2.ส่วนที่ใช้เป็นหมายเลขเครื่อง (Host Address)

การแบ่งขนาดของเครือข่าย ไอพีเวอร์ชัน 4 ทั้งหมดถูกแบ่งออกเป็น Class ชนิดต่างๆ เพื่อจุดประสงค์ในการใช้งาน ต่างๆกัน ดังต่อไปนี้ Class A คือ address สำหรับเครือข่ายขนาดใหญ่ ใช้ไบต์แรก (8 bit) เป็น Network number และให้บิตแรก เป็น 0 จึงมี Network number ระหว่าง 0 - 127 (126 เครือข่าย) ส่วน Host number ใช้ 3 ไบต์ (24 บิต) จึงมีคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ถึง 16,777,124 เครื่อง หมายเลข IP Address จะอยู่ในช่วง 0.0.0.0 ถึง 127.255.255.255 มีไว้สำหรับจัดสรรให้กับองค์กรขนาดใหญ่ ที่มีคอมพิวเตอร์เชื่อมต่อภายในเครือข่ายจำนวนมากๆ

Class B คือ address สำหรับเครือข่ายขนาดกลาง ใช้ 2 ไบต์แรก (16 bit) เป็น Network number และให้ 2 บิตแรก เป็น 10 จึงมี Network number เท่ากับ 2 ยกกำลัง (16-2) หรือ 16,382 เครือข่าย ส่วน Host number ใช้ 2 ไบต์ (16 bit) มีคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ 65,534 เครื่อง หมายเลข IP Address จะอยู่ในช่วง 128.0.0.0 ถึง 191.255.255.255 มีไว้สำหรับจัดสรรให้กับองค์กรขนาดกลาง สามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ถึง 65,534 เครื่อง

Class C คือ address สำหรับเครื่องข่ายขนาดเล็ก (น้อยกว่า 256 เครื่อง) ใช้ 3 ไบต์แรก (24 bit) เป็น Network number และให้ 3 บิตแรกเป็น 110 จึงมี Network number เท่ากับ 2 ยกกำลัง (24-3) หรือ 2,097,152 เครือข่าย ส่วน Host number ใช้ 1 ไบต์ (8 bit) มีคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายได้ 254 เครื่อง หมายเลข IP Address จะอยู่ในช่วง 192.0.0.0 ถึง 223.255.255.255 มีไว้สำหรับจัดสรรให้กับองค์กรขนาดเล็กและใช้กับคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ในเครือข่ายอินเตอร์เน็ต Class D จะกำหนดให้ 4 บิตแรก เป็น 1110 หมายเลข IP Address จะอยู่ในช่วง 224.0.0.0 ถึง 239.255.255.255 สำหรับหมายเลข IP Address ของ Class นี้มีไว้เพื่อใช้ในเครือข่ายแบบ Multicast เท่านั้น

Class E จะกำหนดให้ 5 บิตแรก เป็น 11110 หมายเลข IP Address จะอยู่ในช่วง 240.0.0.0 ถึง 254.255.255.255 สำหรับหมายเลข IP Address ของ Class นี้ จะเก็บสำรองไว้ใช้ในอนาคตปัจจุบันจึงยังไม่ได้มีการนำมาใช้งาน

ความสำคัญ หมายเลข IP Address (ไอพีแอดเดรส)มีความสำคัญกับการเชื่อมต่อระบบ Network หรือเครือข่าย Internet เพราะเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องที่เชื่อมต่ออยู่ในอินเตอร์เน็ตต้องมีแอดเดรส (address) ซึ่งเหมือนกับบ้านต้องมีเลขที่บ้านเพื่อที่จะบอกได้ว่าเป็นบ้านไหน IP address ที่เราใช้กันทุกวันนี้ ช่วยทำให้ง่ายแก่การตรวจสอบเช็คหมายเลขของแต่ละเครื่อง ทำให้เกิดความถูกต้องแม่นยำ และเพื่อไม่ให้เกิดความสับสนและมีหมายเลขซ้ำกัน

ประเภทของ IP Address แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. Public IP Address หมายเลข IP Address"Public IP" ของแต่ละเครื่องบนเครือข่ายInternet จะไม่ซ้ำกันโดยในการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ไปยังผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตจะจ่ายหมายเลข IP Address มาใช้ชั่วคราว 1 IP ซึ่งPublic IP Address จะเปลี่ยนไปทุกครั้งทีมีการเชื่อมต่อใหม่ เพื่อบอกความเป็นตัวตนของเครื่องนั้น

2. Private IP Address หมายเลข IP Address"Private IP" คือหมายเลขที่ใช้กำหนด ขึ้นมาเอง เพื่อการสื่อสารภายใน ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ภายในเท่านั้น  

โดยสามารถกำหนดได้ 2 รูปแบบ คือ - กำหนดแบบ Dynamic วิธีนี้คอมพิวเตอร์ หรือ DHCP Server จะทำหน้าทีกำหนดหมายเลข IP และจ่ายเลขIPให้กับระบบคอมพิวเตอร์ในกรุ๊ปนั้น หรือเรียกการจ่ายไอพีแบบนี้ว่า (Automatic Private IP Address) - กำหนดแบบ Static เป็นวิธีการกำหนดไอพีแอดแดรสแบบคงที่ โดยผู้ติดตั้งระบบ ทำหน้าที่กำหนด หมายเลข IP Address ให้แต่ละเครื่อง เพื่อไม่ให้กำหนด IP ซ้ำกัน แต่เมื่อมีการติดต่อในเครือข่าย Internet ก็จะได้รับหมายเลข ไอพี แอดเดรส "Public IP Address"จากผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต เราสามารถเช็คไอพี (Check IP) แบบ "Private IP" บนเครื่อง ได้โดย

คลิกปุ่ม Start > Run > พิมพ์ cmd วรรค /k วรรค ipconfig

จะได้ผลลัพธ์ออกมาดังรูป  

แหล่งที่มา http://www.d-sign8.com/board/index.php?topic=3398.0 http://www.ku.ac.th/magazine_online/ip.html http://kampol.htc.ac.th/web1/subject/com_network/sheet/ipaddress.htm http://www.correct.go.th/plan/Ipaddress.htm http://www.pyo.nu.ac.th/di-tec/Manuals/wireless.pdf

ขอบคุณค่ะ