สรุปผลการประชุมวิชาการสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคมระดับชาติเรื่อง “บทบาทนักสังคมสงเคราะห์ในการสร้างสังคมสวัสดิการ : ความท้าทายและทางออก” โดย ผศ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
Community of Practice ชุมชนนักปฏิบัติ.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
หลักเกณฑ์การวิเคราะห์ความเสี่ยง ตามหลักธรรมาภิบาล
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ สะท้อนธรรมชาติวิทยาศาสตร์
ข้อควรคำนึงในการสร้างเครือข่าย
แนวทางการบูรณาการ อพม.กับโครงการพัฒนาตำบลต้นแบบ
เศรษฐกิจพอเพียง.
ความหมาย ปรัชญาและวัตถุประสงค์ ของงานส่งเสริมการประมง
แนวคิด ในการดำเนินงาน
แนะนำวิทยากร.
ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์
ตำบลนมแม่ โมเดลการพัฒนาเด็กแบบองค์รวม
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
โครงการค่ายเรียนรู้คุณธรรม นำชีวิตพอเพียง ปี 2550
การดำเนินงานโรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
การกำหนดและการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ ด้านอาหารและ โภชนาการ
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม ค่านิยมในการทำงานราชการยุคใหม่
การทำงานเชิงกระบวนการในชุมชน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
กรอบทิศทางการพัฒนา เด็กและเยาวชน
ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 ( ) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
หัวข้อวิชา การเพิ่มศักยภาพในการเป็นผู้นำ และการนำเสนอข้อมูล
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การจัดการที่ดินทำกินและที่อยู่อาศัย โดยขบวนองค์กรชุมชนและท้องถิ่น
(District Health System)
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ดร.พรธิดา วิเศษศิลปานนท์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
โดย นายแพทย์วุฒิไกร มุ่งหมาย นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี
หมายเหตุ : หน้าแรกแล้วแต่ท่านจะออกแบบนะครับ
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
การเขียนข้อเสนอโครงการ
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
สรุปการประชุมระดมความคิด
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
เสวนาพาเพลิน อปท. กับ รางวัลพระปกเกล้า
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ จังหวัดอุบลราชธานี นางปริญญา ผกานนท์ นักวิชาการสาธารณสุข 8 ว.
การวิจัย เป็น  กระบวนการ แสวงหา ความรู้ หรือ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องของ ประเด็นปัญหาที่ต้องการ ศึกษา  เป็น ระบบ มีแบบแผนตาม แนวทางของ วิธีการทาง วิทยาศาสตร์
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการประชุมวิชาการสังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการสังคมระดับชาติเรื่อง “บทบาทนักสังคมสงเคราะห์ในการสร้างสังคมสวัสดิการ : ความท้าทายและทางออก” โดย ผศ ดร ฐิติพร ศิริพันธ์ พันธเสน คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Summary ให้ภาพรวมว่าเกิดอะไรขึ้นในการประชุมสองวันนี้ ผสานคำถามจากที่ประชุมและข้อสังเกตจากผู้สรุป เชิญชวนให้ท่าน พิเคราะห์โจทย์การประชุม และประเมินความสอดคล้องระหว่างโจทย์ ประสบการณ์การมีส่วนร่วมทั้งในเวทีใหญ่และย่อย รวมถึงการคิด /การแสวงหาทางออกหรือคำตอบ ร่วมกัน เวทีร่วมเสนอทางออกหรือคำตอบและกำหนดแนวทางในการ เตรียมรับความเปลี่ยนแปลงและข้อท้าทายร่วมกัน

บทบาทของนักวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ในการสร้างสังคมสวัสดิการ เมื่อพิเคราะห์ความหมายของหัวข้อการประชุม ว่าด้วยบาทนักสังคมฯ ใน “การสร้างสังคมสวัสดิการ” แล้ว ปฏิเสธไม่ได้ว่านักสังคมสงเคราะห์และนักการศึกษาสังคมสงเคราะห์รวมถึงนักศึกษา มีโจทย์ที่ไม่ง่าย ดิฉันคาดว่าบทสรุปที่จะนำเสนอต่อท่านจะทำหน้ากระจกสะท้อนไม่มากก็น้อยว่า การที่ประชาคมนักสังคมสงเคราะห์ สมาชิกของเครือข่าย สถาบันการศึกษาสังคมสงเคราะห์ นักคิดนักวิชาการ มาประชุมร่วมกัน ร่วมคิด ร่วมเสนอผลงาน อันเป็นผลที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ในการปฏิบัติงานมายาวนานนั้น การแสวงหาทางออก หรือการตอบโจทย์ที่เป็นข้อท้าทาย ซึ่งในที่นี่คือการสร้างสังคมสวัสดิการในช่วงสองวันที่ผ่านมาเป็นไปเช่นใด? เราจริงจังแค่ไหนกับการแสวงหาคำตอบ เรามีคำตอบหรือไม่ ข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่สำคัญๆมีอะไรบ้าง ในการตั้งรับกับความท้าทายและโอกาสที่กำลังมาถึง?

พื้นที่การอภิปราย สังคมสวัสดิการ สวัสดิการถ้วนหน้า Welfare for All เผชิญความเสี่ยงอะไร สวัสดิการชุมชน สังคมสวัสดิการ บทบาทนักสังคมฯในการ (ร่วม)สร้างสังคมสวัสดิการ (ฐานคติ/ ความเชื่อ/ ประสบการณ์) ความท้าทายคืออะไร มีทางออก และคำตอบหรือไม่ สวัสดิการถ้วนหน้า Welfare for All 2559 อะไรคือโจทย์ ?

DAY I เสวนาตามหา (นิยาม) ข้อท้าทายอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงในระดับนโยบายต่อวิชาชีพ วิทยากรนำเสนอรายละเอียดเรื่องพรบ.วิชาชีพ สอดแทรกด้วยการชวนคิดเรื่องข้อท้าทายในการเตรียมการ เตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในมิติต่างๆ

การเริ่มต้นที่การนำเสนอความก้าวหน้าของการขับเคลื่อนพรบ การเริ่มต้นที่การนำเสนอความก้าวหน้าของการขับเคลื่อนพรบ.วิชาชีพคือการย้ำให้เห็นถึงวาระสำคัญของการพัฒนาวิชาชีพสู่ความเป็นปึกแผ่น บทบาทและเป้าหมายในการปฏิบัติงานจะมีความเป็นทางการมากขึ้น มีความชัดเจนมากขี้น ในเวลาเดียวกันการพัฒนาองค์ความรู้ก็ต้องก้าวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง คำถามที่ว่าการมีใบประกอบวิชาชีพ จะเอื้อให้นักสังคมมีบทบาท ที่ชัดเจนขึ้นในการสร้าง”สังคมสวัสดิการ” อย่างไรยังคงต้องการการร่วมคิดต่อไปอย่างต่อเนื่อง

highlight ของการเสวนา: ถ้าคิดตามแบบสังคมสงเคราะห์…. ความสามารถในการระบุปัญหา ความ ท้าทาย คือสัญญาณความแข็งแกร่ง การรู้เท่าทันอารมณ์ตนเองต่อการเปลี่ยนแปลง :กลัว? พร้อม? คิดว่าสิ่งท้าทายคือโอกาส? คือก้าวสำคัญสำหรับการปฏิบัติการเพื่อเปลี่ยนแปลง การวางแผนตั้งรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในชีวิตวิชาชีพและชีวิตนักสังคมฯคือการฝึกปฏิบัติโดยตนเอง เพื่อ (เพิ่มพลัง) กำหนดเป้าหมาย ทิศทางให้ตนเอง โดยผลดีจะเกิดแก่ตนและเพื่อนร่วมสังคม

ตัวอย่างความท้าทายเรื่องความรู้ กฎหมาย ความหลากหลายด้านภาษาวัฒนธรรม นโยบาย (สวัสดิการ) สังคมและเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงาน ความรู้สังคมสงเคราะห์เฉพาะด้าน/ บริบทการปฏิบัติงาน เพื่อการพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน การทบทวน ตรวจสอบ สถานะความรู้

… การค้นหา “อัตลักษณ์วิชาชีพ” ความชัดเจนในบทบาทหน้าที่ การจัดตั้งองค์กรใหม่เช่นสภาการศึกษา สภาวิชาชีพฯสังคมสงเคราะห์

ปาฐกถานำเรื่องความมั่นคงของมนุษย์ ปาถกฐานำ “ความมั่นคงของมนุษย์ เป้าหมายการพัฒนาแห่งทศวรรษ” โดยท่านรองปลัดกระทรวงพัฒนาสังคมฯ นภา เศรษฐกร ครึ่งวัน อุ่นเครื่อง คิดตาม ขณะฟังว่า ความมั่นคงของมนุษย์อันเป็นเป้าหมายการพัฒนานั้นจะบรรลุได้ต้องอาศัยมรรควิธีอะไรบ้าง เพราะเป้าหมายนี้กว้างใหญ่และสูงสุด ถือเป็นหลักหรือกรอบในระดับอุดมการณ์ของสังคม

Human Security …Welfare Society เมื่อได้ฟังเรื่องราวที่เป็นสากล เป็นเป้าหมายสูงสุด ะ ว่าด้วยเรื่องการพัฒนามนุษย์ เรื่องศักดิ์ศรีมนุษย์ ท่านรู้สึกอย่างไร? Reflection…..กาลเวลาจะผันเปลี่ยนแต่เรา “คนทำงาน” สังคม [ทั้งที่เอามือเปื้อนฝุ่นและคนที่วุ่นอยู่กับการช่วยลับความคิดให้คนรุ่นใหม่ ตระเตรียมความพร้อมให้เขามีทั้งใจทั้งเครื่องมือในการทำงานในเกือบแทบทุกสนาม] เมื่อมีโอกาสกลับไปทบทวนเรื่องราว ที่เป็นรากฐานในทางความคิด อุดมการณ์ หรือความเป็นอุดมคตินั้น ทำให้มีกำลังใจขึ้น บอกตัวเองว่ายังมีที่ทางสำหรับ อุดมการณ์ สำคัญมากในการก้าวเดินต่อไป. after all เราก้าวมาอยู่ในวิชาชีพที่อุดมการณ์หรือคุณค่าเรื่องคน เรื่องสังคม แยกออก ไม่ได้จากการปฏิบัติงาน”

การอภิปรายเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางสังคมความกดดันและความท้าทายต่อวิชาชีพ การเปลี่ยนแปลงใน สังคมไทยในมิติความสัมพันธ์ระหว่างกันตั้งแต่ระดับครอบครัว ท้องถิ่น ชุมชน จนถึงระดับประเทศและระหว่างประเทศ นักสังคมฯเผชิญความความกดดัน…เนื่องจากปัญหาสลับซับซ้อนขึ้น Rethink: งานสังคมสงเคราะห์ระดับบุคคล vs intervention ระดับ”สิ่งแวดล้อม” และสังคม

คำพิเคราะห์ เพื่อแสวงหาทางออก ทบทวนสถานการณ์ Social cohesion ความเป็นปึกแผ่นของสังคม (VS ความอ่อนแรงของสถาบันทางสังคม) Social inclusion การบูรณาการทางสังคม Vs Social Empowerment การเสริมพลังทางสังคม Social work Intervention กับบทบาทในสารร้างการสังคมสวัสดิการ

การอภิปรายในหัวข้อ “ความเสี่ยงของสังคมสวัสดิการ” คือการเตือนภัยเรื่องความเสี่ยง พบข้อท้าทายในระดับแนวคิด/ ความหมาย: รัฐสวัสดิการ สังคมสวัสดิการ สวัสดิการชุมชน ความเสี่ยงเชิงนโยบาย

Summary of day I ข่าวดี : ความก้าวหน้าเพื่อเตรียมการรองรับพ.ร.บ. วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ ความท้าทายในการปฏิบัติงานถูกนิยาม/อภิปรายทั้งในบริบทการเปลี่ยนแปลงที่เป็นพัฒนาการของวิชาชีพเองและที่เกี่ยวข้องกับกระแสสังคม การเมือง นโยบาย ความท้าทายในระดับกรอบแนวคิด ว่าด้วยความเข้าใจความหมายของรัฐสวัสดิการ และ สังคมสวัสดิการ (what relationship?) ความท้าทายต่อวิชาชีพมีมากมายทั้งที่เกี่ยวข้องโดยตรงต่อ policy measures/initiativesเรื่อง “สังคมสวัสดิการ” นำโดยคณะรัฐบาลชุดปัจจุบัน และที่ดำเนินมาและจะดำเนินไป [โอกาส ความสำเร็จพูดถึงน้อยในเวทีใหญ่วันแรก] เพราะไม่ใช่ themes เนื้อหาในเรื้องโอกาสและบทบาทในการสร้างสังคมสวัสดิการของนักสังคมสงเคราะห์มีแทรกอยู่บ้างแต่ไม่ใช่ highlight อาทิ นักสังคมฯมีโอกาสพิสูจน์ความสามารถให้เป็นที่ประจักษ์มากขึ้น

Day II การนำเสนอผลงานวิจัยแบ่งเป็นห้า sub themes

sub theme 1 การเข้าไม่ถึงบริการ ความไม่เป็นธรรม และความคาดหวัง ข้อค้นพบจากการวิจัยช่วยทางออกและบทบาทของนักสังคมสงเคราะห์ในการขจัดความไม่เป็นธรรมเหล่านี้อย่างไร? ความไม่เป็นธรรมทางสังคม การเลือกปฏิบัติ อันเนื่องมาจาก ความพิการที่ส่งผลต่อ การเข้าไม่ถึงบริการทางการแพทย์ การเข้าไม่ถึงบริการ ความไม่เป็นธรรมและ ความคาดหวัง การเข้าถึงสวัสดิการ ผู้สูงอายุ วยให

เป็นสุขของครอบครัวไทย สถานภาพของการอยู่ร่วมกัน Sub- theme2 ความอยู่ร้อนนอนทุกข์และความอยู่เย็น เป็นสุขของครอบครัวไทย ความมั่นของมนุษย์ สวัสดิภาพ สุขภาวะ สังคมสวัสดิการ ถี คำตอบ อธิบาย สถานภาพของการอยู่ร่วมกัน แบบใดของสังคมเมือง และชนบท กลุ่มเป้าหมายการสร้าง ความรู้คือ เด็กและเยาวชน คำถามเรื่อง ตัวชี้วัดความอยู่ เย็นเป็นสุข ความรุนแรง ความสนใจการวิจัย ในระดับ area based เนื่องจากความหลากหลาย ระดับพื้นที่

นำเสนอผลการวิจัยSub theme 3 ทุนทางสังคม จิตอาสาและการประเมิน ผู้สูงอายุ ทุนทางสังคม โดยชุมชนเป็นฐาน จิตอาสา เครื่องมือวิจัย ประเมินผล เพื่อการพัฒนา ระบบบริการ ภัยธรรมชาติ ภัยคุกคาทางสังคม อาทิ ความรุนแรง หุ้นส่วนทางสังคม หน่วยงานระดับ จังหวัด นวัตกรรมการวิจัย

Sub-theme 4 การเสริมสร้างความมั่นคงของเด็กครอบครัวชุมชน Best Practice Research เพื่อการพัฒนาการดำเนินงานของหน่วยงานด้านการพัฒนาสังคม ข้อสังเกต การวิจัยพยายามสร้างความรู้ในมิติการบริหารโครงการ/พฤติกรรมของผู้ใช้บริการ/การประเมินประสิทธิผล หรือ ผลการดำเนินงาน

วิจัย Sub theme 5 แนวปฏิบัติที่ดี และจริยธรรม ในงานสังคมสงเคราะห์ ครอบครัวที่มีความต้องการพิเศษ พบการวิจัยแบบ Practice Research โดยมุ่งพัฒนา เครื่องมือในการปฏิบัติ งาน วิธีวิทยา การออกแบบ การวิจัย ทดลอง; การวิจัยในคน กับความสมัครใจ ในการ ร่วมวิจัย และความจำเป็นของ Ethical Reflection ประเด็นจริยธรรม การเตรียมการในเชิงจริยธรรม ในกระบวนการวิจัย และถ้าจะมีการวิจัยเรื่องจริยธรรม เพื่อการพัฒนาวิชาชีพdesign ควรเป็นอย่างไร การวิจัย การศึกษาพฤติกรรม จริยธรรม (จรรยาบรรณ) ของนักสังคมฯ โดยนักวิชาการสังคมสงเคราะห์

ทางการอยู่ร่วมกันของ ช่องทางสู่ การพัฒนา นวัตกรรม ว่าด้วย การนำแนวคิด คิดสหกรณ์ ไปใช้ในการ บริหารจัดการ ที่อยู่ การวิจัยประเมินผล เพื่อกำหนดแนว ทางการอยู่ร่วมกันของ คนในชุมชนเมือง บ้านเอื้ออาทร

ชุมนุมปาฐก1 สังคมสวัสดิการ:จากสังคมไทยสู่ประชาคมอาเซียน ภาคีการพัฒนา สังคมสู่สังคม สวัสดิการ บทบาทอาสาสมัคร เปิดประเด็น ความร่วมมือ ด้านการศึกษา สังคมสงเคราะห์ สวัสดิการ สังคม ในประชาคมอาเซียน เสนอแนวคิดปรัชญา การพัฒนาสังคม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความรู้เพื่อก้าวข้ามประวัติศาสตร์ความขัดแย้ง

ชุมนุมปาฐก 2 การปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการแบบบูรณาการ ชุมนุมปาฐก 2 การปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์และสวัสดิการแบบบูรณาการ การปฏิบัติงาน แบบบูรณาการ คือคำตอบ ชุมชน ช่วยให้เกิด การ บูรณาการ แนวทางใน การใช้ชีวิตอย่าง สมดุลผ่านแนว คิดและการปฏิบัติ เมืองนิเวศ Eco-town ผลงานวิชาการ สะท้อนความเป็นจริงของสังคม ที่ว่าคนจนได้รับผลกระทบ จากนโยบายจากศูนย์กลาง การบูรณาการระหว่าง หน่วยงานที่รับผิดชอบ

ชุมนุมปาฐก 3 การสนับสนุนของเครือข่ายทางสังคม การพัฒนา อย่างยั่งยืน ธุรกิจเพื่อสังคม สวัสดิการทางเลือก/ ความยากจนของผู้อาศัย ภาคีเครือข่ายกับ การสร้างสังคมสวัสดิการ ยังต้องการโจทย์ในการสร้าง ความรู้เพื่อรองรับการเข้า สู่สังคมผู้สังคม?

ชุมนุมปาฐก 4 การสนับสนุนให้เกิดการปฏิบัติงานสังคมฯที่ดี ความจำเป็นในการถอดบทเรียน สร้างทฤษฎีใน การปฎิบัติงานเฉพาะ พื้นที่ ครอบครัวบำบัด “นักสังคมฯ” เป็น “key players” ในการทำงาน สหวิชาชีพ ในการคิดค้นรูป แบบวิธี ปฏิบัติงาน การพิสูจน์ตนเอง ผ่านการ พัฒนาความรู้และ นำเสนอวิธีปฏิบัติ

ชุมนุมปาฐก 5 การร่วมสร้างสังคมสวัสดิการของภาคประชาชนและท้องถิ่น ทบทวนความหมายของ “สวัสดิการชุมชน” พลังชุมชนในการจัดการตนเอง : การแสวงหาคำถามการสร้างความรู้ใหม่ ? ชุมชนร่วมกับ”ท้องถิ่น” อปท.ในการจัดการจัด สวัสดิการ :

บทบาทนักสังคมท่ามกลางวิกฤตการณ์สังคมและการเมือง ปัญญา อันเกิดจากการหมั่นไตร่ตรอง ทบทวนผลที่เกิดขึ้นการปฏิบัติ กับช่องทางในการสร้างความรู้เพื่อ การพัฒนาตน การใช้หลักเหตุผล วิเคราะห์-วินิจฉัยปัญหาและ การใช้กระบวนการทางสังคมสงเคราะห์ อย่างตั้งใจมั่น พลังความรู้ สังคมสงเคราะห์อยู่ที่ไหน? วาระแห่งการทบทวนประโยชน์ของ INTERGRATED/HOLISTIC Approach ในการปฏิบัติงาน การมีภูมิคุ้มกันระดับสังคม: การตระหนัก-ตื่นตัว รู้ เท่าทันอารมณ์ของสังคม ความเป็นไป

อะไรที่ยังต้องกระทำ/สร้างใหม่? ความมั่นคงของมนุษย์ เป้าหมาย การพัฒนาแห่งทศวรรษ คำถาม: การบรรลุเป้าหมาย ความมั่นคงในมิติต่างๆคือเครื่องหมายของ สังคมสวัสดิการ ใช่หรือไม่ หวังว่าคงมีคำตอบ สังคมสวัสดิการต้อง มีคุณลักษณะใด? อะไรบ้างที่มีแล้ว ทำแล้ว อะไรที่ยังต้องกระทำ/สร้างใหม่?