อ. จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน. ความหมาย  แหล่งสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถเข้าถึงได้ฟรี ไม่มี การจำกัดสิทธิในการเข้าถึงใน ระบบออนไลน์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมทุกสาขาวิชา ฐานข้อมูลนี้ให้บริการข้อมูลในรูปแบบของบทคัดย่อ (Abstract) แต่หากรายการใดเป็นรายการที่ปรากฏอยู่ในวารสารที่ห้องสมุดบอกรับในรูปของ.
Advertisements

อาจารย์เอกนฤน บางท่าไม้ ภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา
โดย : จิรวัฒน์ พรหมพร ปรับปรุงครั้งล่าสุด 18/07/49.
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด k.co.th.
บรรณารักษ์ห้องสมุดศูนย์เครื่องมือวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) แผนกฝึกอบรม.
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด 02/10/51.
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
Health Science Databases
ACM คืออะไร หน้าจอหลัก
DAONAPA SUYANON LIBRARIAN Learning Resources and Educational Media Center Mae Fah Luang University DAONAPA SUYANON LIBRARIAN Learning Resources and Educational.
สรุป Web of Science โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด.
การค้นข้อมูล 1. ความหมายของสารสนเทศ (Information)
แหล่งสารสนเทศวารสารแบบเสรี (Open Access)
Dublin Core Metadata tiac. or
Multimedia Search Siamguru Co., LTD.
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
*เนื้อหาส่วนที่2 เครื่องมือช่วยการสืบค้น CMUL OPAC One Search
โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด 24/03/50.
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 25/04/51.
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 22/05/51.
จัดทำโดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด 05/03/51.
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
การใช้งานฐานข้อมูล Springer Link
กัญญากานต์ นนทิวัฒน์วณิช Thailand Country Manager EBSCO Publishing
ภวัต เรืองยิ่ง แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล
การคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศ
รหัสวิชา SOHU0022 Information Literacy
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การสัมมนา PULINET วิชาการ ครั้งที่ 4 23 มกราคม 2557
สารสนเทศเพื่อการวิจัย (Information for Research)
คู่มือการใช้ฐานข้อมูลออนไลน์ Science Online
โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าธนบุรี
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL) การใช้งานฐานข้อมูล โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด 22/04/54.
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 06/02/54 โดย...จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ปริศนา มัชฌิมา
การใช้งานฐานข้อมูล SpringerLink
แผน 4 ปี ( ) ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
อินเทอร์เน็ตกับการศึกษาค้นคว้า
เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
โครงการสร้างสำนึกพลเมือง (Project Citizen)
ปรับปรุงล่าสุด 20/01/53 สรุป ACM Digital Library โดย... จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค.
โดย จิรวัฒน์ พรหม พร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด โครงการพัฒนาเครือข่ายระบบห้องสมุด ในประเทศไทย (ThaiLIS) ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
บทที่ 3 กระบวนการแสวงหาและนำเสนอสารสนเทศ
โครงสร้างทรัพยากรสารสนเทศ
Ebsco Discovery Service (EDS)
การทบทวนวรรณกรรมสำหรับนักวิจัย
ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข ห้องสมุดเสมือนและการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต Virtual-Library and E-Learning ดร.ปรัชญนันท์
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล Book Promotion & Service Co., Ltd. สรุป SpringerLink ปรับปรุงล่าสุด 10/03/51.
สรุป Web of Science โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล Book Promotion & Service Co., Ltd. โดย จิรวัฒน์ พรหมพร
กลุ่มที่ 1 นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 ห้อง B วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุดรธานี
คุณธรรมและจริยธรรม สำหรับ วิทยาการคอมพิวเตอร์
เสนอเรื่อง ฐานข้อมูล อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่ม เพิ่ลบ่ให้ บอก.
ฐานข้อมูล Science Direct
บริการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (e-Library) ห้องสมุดคณะวิจิตรศิลป์ 2552
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊คโปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด 24/02/50.
Emerald Fulltext By: Jirawat Promporn By: Jirawat Promporn Contact:
By… จิรวัฒน์ พรหมพร ปรับปรุงครั้งล่าสุด 18/07/49 แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น.
By… จิรวัฒน์ พรหมพร บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ปรับปรุงครั้งล่าสุด.
MDCONSULT โดย สุวรรณ สัมฤทธิ์ งานเทคโนโลยีสารสนเทศห้องสมุด งานห้องสมุดกรมการแพทย์ สำนัก พัฒนาวิชาการแพทย์ ปรับปรุงล่าสุด 28/04/51.
นอกจากบรรณานุกรมดังกล่าวแล้ว ยังแบ่งบรรณานุกรมโดยแยกย่อยได้ เช่น
การบรรยายเรื่อง การใช้ห้องสมุดและการสืบค้นข้อมูล
Knovel E-Books Database.
ปรับปรุงครั้งล่าสุด 19/12/54 โดย...จิรวัฒน์ พรหมพร แผนกสนับสนุนฝ่ายทรัพยากร อิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส.
การสืบค้นฐานข้อมูลออนไลน์และ การใช้โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม EndNote
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยศรี ปทุม ยินดีต้อนรับนิสิตใหม่ ปี การศึกษา
การสืบค้นสารสนเทศ สื่อบุคคล - แบบสอบถาม - การสัมภาษณ์
อ. จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน. การจำแนกประเภท  ทรัพยากรสารสนเทศปฐม ภูมิ  ทรัพยากรสารสนเทศทุติย ภูมิ  ทรัพยากรสารสนเทศตติย ภูมิ
 ฐานข้อมูลวารสารวิชาการครอบคลุมเนื้อหา ทั้งในสาขาวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการแพทย์  ผู้ใช้สามารถสืบค้นได้ตั้งแต่วารสารปีปัจจุบัน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อ. จุฑาทิพย์ จันทร์ลุน

ความหมาย  แหล่งสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถเข้าถึงได้ฟรี ไม่มี การจำกัดสิทธิในการเข้าถึงใน ระบบออนไลน์

 ความต้องการเผยแพร่งานวิจัย หรือบทความทางวิชาการของ นักวิจัย และนักวิชาการ เพื่อเพิ่ม ความน่าเชื่อถือให้กับตัวนักวิจัย เอง โดยสามารถลดค่าใช้จ่ายใน การจัดพิมพ์ และเพิ่มโอกาสในการ เข้าถึง เนื่องจากสามารถจัดทำ เผยแพร่ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต  ปัญหาด้านราคาการจัดพิมพ์ และ การจัดจำหน่าย  ปัญหาการเข้าถึงสารสนเทศ หรือ แหล่งสารสนเทศ

 จดหมายเหตุหรือสิ่งพิมพ์รับฝาก  ไม่มีผู้เชี่ยวชาญอ่าน หรือ no peer review  ความหลากหลายของสาขาวิชา  เนื้อหาที่เผยแพร่มีทั้งที่เคยเผยแพร่ แล้วหรือยังไม่ได้เผยแพร่  จัดทำหรือเผยแพร่ผ่านโอเพนซอร์ส  ใช้ง่ายไม่มีค่าใช้จ่าย

 วารสาร  มีผู้เชี่ยวชาญอ่านบทความ  บทความเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ยาก  อื่นๆ  บล็อก กลุ่มข่าว บอร์ด หรือ หนังสือ อิเล็กทรอนิกส์

 Open Archives Initiative  Budapest Open Access Initiative  Public Library of Science  BioMed Central  SPARC  Dspace  Bethesda droup  HINARI  Creative Commons

 ผู้แต่งเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง และมี ค่าความน่าเชื่อถือสูง  ผู้อ่านหรือผู้ใช้เข้าถึงงานที่ต้องการได้ ง่าย  ในแวดวงการเรียนการสอนมีความเท่า เทียมกันในการใช้  สถาบันบริการสารสนเทศแก้ไขปัญหา ด้านราคาวารสาร และปัญหาด้าน ลิขสิทธิ์ได้  ประเทศกำลังพัฒนาสามารถเข้าถึง วรรณกรรมทางวิทยาศาสตร์ได้ และ สามารถเผยแพร่ได้ด้วยตนเอง  ในอนาคตการเผยแพร่สารสนเทศแบบ เสรีจะมีเพิ่มมากขึ้นผ่านระบบโอเพน ซอร์สซอฟต์แวร์

 อินเทอร์เน็ต และเทคโนโลยี เครือข่าย

 การกำหนดกฎเกณฑ์สำหรับการ เข้าถึง เช่น การกำหนดลิขสิทธิ์ สำหรับงานที่มีลิขสิทธิ์บางรายการ  งานบางรายการอาจจะไม่ จำเป็นต้องกำหนดลิขสิทธิ์หรือการ ออกใบอนุญาต

 วารสารทั่วไป  วารสารเฉพาะสาขาวิชา  วารสารท้องถิ่นหรือวารสาร เฉพาะพื้นที่  วารสารสถาบัน  วารสารรายปี หรือรายงาน ประจำปี

 OA Publishing ('Gold' OA) ผู้เขียนบทความ แหล่งเงินทุนหรือ สถาบันต้นสังกัด เป็นผู้ จ่ายค่าตีพิมพ์ (Author-pays) ให้แก่ OA Publishers และอนุญาตให้นำบทความไป เผยแพร่บนอินเตอร์เน็ตได้ ตัวอย่างของ สำนักพิมพ์ OA ได้แก่  Hindawi Publishing (1997)  BioMed Central (2001)  Public Library of Science - PLoS (2003)

 OA Self-archiving ('green' OA) ตีพิมพ์ในวารสารของสำนักพิมพ์ทั่วไป แต่ ผู้เขียนมีสิทธิ์นำ บทความมาจัดเก็บไว้ใน author's homepage หรือ institutional repository เพื่อนำไปเผยแพร่บน อินเตอร์เน็ตต่อได้ แหล่งเก็บประเภท Open Access Archives (OAA) ตัวอย่างเช่น PubMed Central (1999)

 Truly OA Journals  ให้ใช้บทความออนไลน์ได้ฟรี ทันทีที่ ตีพิมพ์  ให้ผู้เขียนบทความเป็นเจ้าของ ลิขสิทธิ์  ให้เผยแพร่บทความออนไลน์ได้โดย ไม่มีขีดจำกัด  OA Journals มีความหมายตรงข้ามกับ Subscription-based Journals

 Delay Open Access  ให้ใช้บทความออนไลน์ได้ฟรีเฉพาะ ฉบับย้อนหลัง (free back issues) หลังจากตีพิมพ์ไปแล้ว 1-6 เดือน หรือ 1 ปี เป็นต้น  ตัวอย่างเช่น วารสารในกลุ่มของ HighWire Press

 Dual-mode Open Access  วารสารชื่อเดียวกัน มีทั้ง print subscription และ OA edition

 Hybrid Open Access (Author-choice OA)  ภายในวารสารฉบับเดียวกัน มีทั้งบทความ OA และ non-OA  Partial Open Access  OA เฉพาะบางบทความ ( มักเป็นการ โฆษณาของสำนักพิมพ์ )

 Low-income Open Access  OA เฉพาะประเทศในกลุ่ม low-income economies โดยให้บริการวารสารผ่าน โครงการช่วยเหลือต่างๆ เช่น  Hinari (Health InterNetwork Access to Research Initiative)  AGORA (Access to Global Online Research in Agriculture)

 OA Publishers  Public Library of Science (PloS)  Hindawi Publishing Cop.  OA Journal Resources  Directory of Open Access Journals (DOAJ)  Open J-Gate (Informatics India Ltd.)  Japan Science and Technology Information Aggregator, Electronic (J-Stage )  Scientific Electronic Library Online (SciELO), Brazil

 OA Journal Resources  Free Full Text  Free Medical Journals  HighWire Press. highwire.stanford.edu  Free Indexes  Google Scholar scholar.google.com  Windows Live Search Academicacademic.live.com  Sciruswww.scirus.com  PubMedwww.pubmed.gov

Open Access ต่างประเทศ

Open Access ของ ไทย