การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมเกียรติ คูหเวโรจนปกรณ์
Advertisements

การประเมินผลสถานศึกษา
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
ส่วนประกอบตอนต้น ปก ชื่อเรื่องวิจัย ชื่อผู้วิจัย โรงเรียน ชื่อโครงการ เดือน ปี ที่วิจัยเสร็จ คำนำ ส่วนประกอบ ที่มาของรายงาน วัตถุประสงค์ของรายงาน วิจัย.
วิชาหัวข้อเรื่องที่ทันสมัยทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ 6 มกราคม 2555
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Thesis รุ่น 1.
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
หลักการพัฒนา หลักสูตร
แหล่งการเรียนรู้และเครือข่ายนวัตกรรม และกระบวนการทางนวัตกรรม
การติดตาม และประเมินโครงการ.
การรายงานและการประเมิน ด้านที่ ๓
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
เรื่อง การวางแผนประเมินโครงการ
“Backward” Unit Design?
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
การออกแบบการวิจัย(Research Design)
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
เพิ่มประสิทธิภาพ ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ OTOP ด้านการจัดทำแผนธุรกิจ
การเขียนรายงานการวิจัย
วิธีการตรวจสอบ Content Validity
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวัดผล (Measurement)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
มาตรฐานการวัด การประเมินและ การประกันคุณภาพภายใน
การออกแบบตัวชี้วัดที่ประสบความสำเร็จในการทำ E-Learning โดย เบคิม เฟทาจิ , เมย์ลินดา เฟทาจิ มหาวิทยาลัยยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีร่วมสมัย.
การเขียนรายงานการวิจัย
ตามเกณฑ์มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพ
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR)
การประเมินผลในวิจัยชั้นเรียน
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
กระบวนการวิจัย Process of Research
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
การเขียนข้อเสนอโครงการ
14. การเขียนโครงร่างการวิจัย (แบบ ว -๑) (Proposal)
องค์ประกอบของการทบทวนวรรณกรรม
การวางเค้าโครงการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานเพื่อนำเสนอโครงงานวิทยาศาสตร์
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้
หลักการเขียนโครงการ.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
การเขียนรายงานผลการวิจัย
การเขียนโครงการ.
15. การวิจัยเชิงสำรวจ Survey Research.
บทที่ 1 บทบาทของการวิจัยตลาด
บทที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
CIPP Model : การประกันคุณภาพ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ศึกษาผลการประเมินการ ดำเนินงานระบบเรียนรู้ ของ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2552 – 2554 นางอรัญญา เอี่ยมภักดิ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินนวัตกรรม Dr.Kulthida Nugultham

การประเมินนวัตกรรม ประเมินทำไม อะไรบ้างที่ควรประเมิน วิธีการประเมินเป็นอย่างไร ตัวบ่งชี้คืออะไร เกณฑ์คะแนนเป็นอย่างไร

การวัดและประเมินผล การวัดผล เป็นการตรวจสอบ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลเกี่ยวกับนวัตกรรมในรูปของคะแนน หรือคำบรรยายที่เกี่ยวกับผลการใช้นวัตกรรมนั้นๆ ที่ใช้สำหรับการเรียนการสอน ทั้งในระยะเวลาก่อน ระหว่าง หรือหลังจากการเรียนการสอน การประเมินผล เป็นกระบวนการนำข้อมูลต่างๆ ที่ได้จากการวัดมาพิจารณา ตัดสินว่า นวัตกรรมสามารถบรรลุตามเป้าหมายหรือจุดประสงค์ของการพัฒนา เพียงใด มีสิ่งใดที่ต้องการปรับปรุงและพัฒนาให้ดีขึ้น

ประโยชน์ของการวัดและประเมินผล บอกได้ว่าผู้เรียนสามารถบรรลุตามเป้าหมายหรือจุดประสงค์ของการใช้ นวัตกรรม นำมาใช้ในการปรับปรุงการสอนของตนให้มีคุณภาพ แนวทางในการปรับปรุงนวัตกรรม การกำหนดความมุ่งหมายของนวัตกรรมให้เหมาะสมยิ่งขึ้น การจัดประสบการณ์เรียนรู้

ข้อผิดพลาดในการพัฒนานวัตกรรม 1.ขาดเหตุผลที่ชี้ให้เห็นความจำเป็นที่ต้องพัฒนานวัตกรรม 2.ขาดการสังเคราะห์ทฤษฎีที่ใช้สนับสนุนนวัตกรรม 3.กรอบแนวคิดไม่ชัดเจน 4.การระบุตัวแปรต้นและตัวแปรตามไม่สมเหตุสมผล 5.การเลือกเนื้อหาไม่เหมาะสมกับนวัตกรรม 6.การเลือกเนื้อหาไม่เชื่อมโยงกับหลักสูตรและผลการเรียนรู้ 7.นิยามศัพท์ของนวัตกรรมไม่ชัดเจน 8.ขาดหลักฐานข้อมูลที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับประสิทธิภาพของนวัตกรรม 9.เครื่องมือวิจัยไม่น่าเชื่อถือว่าจะวัดได้จริง 10.เครื่องมือวิจัยมีแต่แบบทดสอบหรือแบบสอบถามทำให้วัดตัวแปรตามไม่ได้จริง 11.เน้นข้อมูลเชิงปริมาณมากกว่าเชิงคุณภาพขาดการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า 12.นวัตกรรมนั้นก่อให้เกิดความยุ่งยากในการนำไปใช้ 13.ข้อเสนอแนะไม่ชัดเจนว่าจะนำนวัตกรรมไปใช้อย่างไร 14.ไม่ระบุเงื่อนไขหรือบริบทและข้อดีข้อจำกัดของนวัตกรรม 15.ส่วนประกอบของนวัตกรรมไม่ชัดเจนไม่มีขั้นตอนหรือบทบาทของผู้เกี่ยวข้อง 16.นวัตกรรมนั้นไม่คุ้มค่ากับการลงทุน

Your assignment ออกแบบการประเมินนวัตกรรม