พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
Advertisements

หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติการยืมเงินทดรองจ่ายเงินรายได้
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ. สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ.
วิธีการยื่นเรื่อง ขอรับเงินคืน.
ข้อควรปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กบข.
รู้จัก กบข.. รู้จัก กบข. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ / กองทุนประกันสังคม กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ เอกชน / ข้าราชการ เอกชน / รัฐวิสาหกิจ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ.
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สำนักงานตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การตรวจสอบการนำส่งเงินรายได้
แนวทางแก้ไขปัญหา ให้กับสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ.
พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญ ว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต พ.ศ.2542
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
สิทธิของข้าราชการทหาร
วันที่ 25 มีนาคม 2556.
รู้จัก กบข..
สาระสำคัญของการแก้ไข พรบ. กบข. ฉบับที่ 5
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
สำนักกำกับและพัฒนาระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
ที่มา : ข้อมูลจากกรมบัญชีกลาง
งานที่เกี่ยวข้องกับระบบ GFMIS
การสั่งให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในระดับควบตำแหน่งเลขที่หนึ่งไปแต่งตั้ง
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติในการจ่ายเงินให้กับ ผู้มีสิทธิรับเงินตามโครงการช่วยเหลือค่าครองชีพประชาชนและบุคลากรภาครัฐ.
การคัดเลือกเพื่อเปลี่ยนสายงาน
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
กฎหมายเกี่ยวกับ การเงินการคลัง
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
น.ส.เสาวลักษณ์ วิจิตรโสภา
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521
บำเหน็จค้ำประกัน ก.บริหารทรัพยากรบุคคล 7 ก.พ
(ร่าง) ระเบียบคณะกรรมการบริหารกองทุน ( ชื่อกองทุน )
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ.2552
ระเบียบคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน ว่าด้วยบัตรประจำตัวกรรมการกำกับกิจการพลังงาน และเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ระเบียบสำนักงานประกันสังคมว่าด้วย การเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 26 ตุลาคม.
เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
การพิจารณาอุทธรณ์ และการร้องทุกข์ สำหรับพนักงานส่วนท้องถิ่น
การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง
โดย ส่วนวิชาการ สำนักงานคลังเขต 1 กรมบัญชีกลาง
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
ทิศทางร่างพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น(ฉบับที่ 1325/2552)
โครงการประชุมชี้แจง “เจ้าหน้าที่ส่วนราชการเพื่อเตรียม ความพร้อมสำหรับการปฏิบัติงานตาม ร่าง พ.ร.บ. กลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ ตาม พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ.
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย
ข้อเปรียบเทียบ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
แนวทางการยกเลิกการจัดทำ บัญชีตามเกณฑ์คงค้างด้วยมือ
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย
ณ ห้องประชุมตำรวจภูธรจังหวัดลำพูน ระหว่างวันที่ 25 ธันวาคม 2557
การประชุมชี้แจง การปฏิบัติงานเรื่องการกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 พ.ศ.2557 ในวันพุธที่ 3 ธันวาคม 2557.
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การบริหารงานบุคคล นายสัจจา วงศาโรจน์ ผู้อำนวยการกลุ่มการเจ้าหน้าที่ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย.
หน่วยงาน หมายถึง สำนัก/กอง/ส่วน/ฝ่าย ตามโครงสร้างของ อปท
การดำเนินการ ของส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ในระบบ GFMIS
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
Payroll.
แนวทางการเบิกจ่ายเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจำปี 2555
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
การบริหารเงินทดรองจ่ายหมุนเวียนภายในส่วนงาน
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
บำเหน็จบำนาญ และ UNDO สุริยงค์ ลูกจันทร์ สำนักงานคลังเขต 4.
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) และการดำเนินการกลับไปใช้สิทธิ์ฯ (ระบบUNDO) 1.
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) และการดำเนินการกลับไปใช้สิทธิ์ฯ (ระบบUNDO) ออกใบรับแบบ 1.
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) และการดำเนินการกลับไปใช้สิทธิ์ฯ (ระบบUNDO) กรณีเลือก ผู้รับเบี้ยหวัด / ประจำรอบที่ / ใบสรุปประจำรอบ 1.
เงินตอบแทน การปฏิบัติงานนอกเวลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ ในบำเหน็จบำนาญตาม พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. 2557 กฎหมาย Undo

กฎหมาย Undo ประกาศ วันที่ 13 พฤศจิกายน 2557 (พ้น 30 วัน นับจากวันที่ประกาศใช้กฎหมาย)

สาระสำคัญของกฎหมาย Undo

ที่เป็นหรือเคยเป็นสมาชิก กบข.โดยสมัครใจ ให้สิทธิ Undo กับ ข้าราชการ ผู้รับบำนาญ ผู้รับเบี้ยหวัด ที่เป็นหรือเคยเป็นสมาชิก กบข.โดยสมัครใจ (มาตรา 36 พรบ.กบข.)

1 คน มีได้เพียง 1 สถานะ เท่านั้น การใช้สิทธิ Undo Note 1 คน มีได้เพียง 1 สถานะ เท่านั้น ข้าราชการ Undo ผู้รับบำนาญ Undo ผู้รับเบี้ยหวัด Undo

เมื่อได้ยื่นใช้สิทธิ Undo แล้ว จะขอยกเลิกไม่ได้ ! Note เมื่อได้ยื่นใช้สิทธิ Undo แล้ว จะขอยกเลิกไม่ได้ !

ที่เป็นสมาชิกกองทุน ตามมาตรา 36 พรบ. กบข. ข้าราชการ ที่เป็นสมาชิกกองทุน ตามมาตรา 36 พรบ. กบข. ข้าราชการ หมายถึง ………………… 1 ข้าราชการพลเรือน 2 ข้าราชการฝ่ายตุลาการ 3 ข้าราชการฝ่ายอัยการ 4 ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย 5 ข้าราชการครู 6 ข้าราชการรัฐสภาสามัญ 7 ข้าราชการตำรวจ 8 ข้าราชการทหาร 9 ข้าราชการศาลรัฐธรรมนูญ 10 ข้าราชการที่มีกฎหมายบัญญัติให้เป็นข้าราชการตาม พรบ. กบข.

ข้าราชการ 1 ให้ใช้สิทธิเลือก ถัดจากวันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับ 1 ให้ใช้สิทธิเลือก ถัดจากวันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2558 (ประมาณ 6 เดือน 15 วัน) 2 ได้รับเงินสะสม และดอกผล คืนจาก กบข. ตั้งแต่วันที่หมดสมาชิกภาพ กบข. (ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2558 เป็นต้นไป) 3 ไม่มีสิทธิได้รับเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสบทบ และดอกผลของเงินดังกล่าว โดยรัฐจะให้ กบข. นำเงินนี้ไปใส่ในบัญชีเงินสำรอง เพื่อใช้ในการ บริหารจัดการภาระบำนาญต่อไป

4 สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับตั้งแต่วันถัดจาก วันที่ 30 กันยายน 2558 คือวันที่ 1 ตุลาคม 2558 เว้นแต่ จะขอลาออก หรือถูกสั่งให้ออก ถัดจาก 30 มิถุนายน ถึง 30 กันยายน 2558 สมาชิกภาพ สิ้นสุดลงตั้งแต่วันถัดจากวันขอลาออก หรือถูกสั่ง ให้ออก แล้วแต่กรณี 5 ข้าราชการที่มีเวลาราชการเหลืออยู่ไม่ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2558 เนื่องจากจะออกจากราชการ ไม่ว่ากรณีใด (ขอลาออก หรือถูกสั่งให้ออก)ให้ใช้ สิทธิเลือกได้ไม่เกินวันที่ที่จะออกจากราชการนั้น แล้วแต่กรณี (วันที่ขอลาออก หรือวันที่ถูกสั่งให้ออก) โดยสมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับตั้งแต่วันถัดจากวันออก จากราชการ แล้วแต่กรณี

6 เมื่อออกจากราชการไม่ว่ากรณีใด และมีสิทธิรับ บำนาญ จะได้รับบำนาญตาม พรบ. บำเหน็จบำนาญ 2494 จนถึงวันที่เสียชีวิต 7 หากแสดงความประสงค์ไว้แล้ว และถึงแก่ความตาย ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2558 หรือภายในวันที่ที่ จะออกจากราชการไม่ว่ากรณีใด (วันที่ขอลาออก หรือวันที่ถูกสั่งให้ออก) แล้วแต่กรณี ให้ถือว่าการแสดงความประสงค์นั้นเป็นอันสิ้นผล

วันที่กฎหมาย ใช้บังคับ วันที่ขอออก หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการ 30 กันยายน 2558 30 มิย. 58 เลือก Undo แจ้ง กบข.โอนเงินในบัญชีเงินรายบุคคลเข้าบัญชี เงินสำรอง และจ่ายเงินสะสม+ดอกผลให้ผู้มีสิทธิ เลือก Undo ได้รับบำนาญสูตรเดิมตั้งแต่วันที่ออกจากราชการ วันที่ขอออก หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการ งดหักเงินสะสม และงดเบิกเงินชดเชย+สบทบ ออกจากราชการ ได้รับบำนาญ สูตรเดิม วันที่เลือก Undo วันที่เลือก Undo กฎหมายบำเหน็จบำนาญ สิ้นผล สิ้นผล วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. สิ้นสุดลง สมาชิกภาพ กบข. สิ้นสุดลง

ภายหลังวันที่ 30 มิถุนายน 2558 2 ให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับถัดจากวันที่ ข้าราชการที่ไม่อยู่ ก่อนหรือในวันที่กฎหมายนี้ใช้บังคับ และกลับเข้ารับราชการ ภายหลังวันที่ 30 มิถุนายน 2558 1. ถูกสั่งให้ออกจากราชการเพื่อไปรับราชการตามกฎหมายว่าด้วยการรับราชการทหาร 2. ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีให้ไปปฏิบัติงานใดๆตาม พรฎ.ว่าด้วยการกำหนด หลักเกณฑ์การสั่งให้ข้าราชการข้าราชการไปทำการซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้น เหมือนเต็มเวลาราชการ 3. ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน 4. อยู่ระหว่างร้องทุกข์หรืออุทธรณ์คำสั่งให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากราชการ 1 ให้แสดงความประสงค์ ภายใน 60 วันนับตั้งแต่วันกลับเข้ารับราชการ 2 ให้สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับถัดจากวันที่ แสดงความประสงค์

ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย ตุลาการศาลปกครองซึ่งเคยเป็นข้าราชการที่เข้ารับราชการ ก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 และลาออกจากราชการเพื่อไปเป็นตุลาการศาลปกครอง มาตรา 35 พรบ.กบข. 2. ข้าราชการ ซึ่งเคยเป็นข้าราชการที่เข้ารับราชการก่อนวันที 27 มีนาคม 2540 ซึ่งลาออกจากราชการและกลับเข้า รับราชการตั้งแต่ หมวด 3 พรบ. กบข.ใช้บังคับ มาตรา 35 พรบ.กบข. 3. ข้าราชการส่วนท้องถิ่น ซึ่งเคยเป็นข้าราชการ ที่เข้ารับราชการก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 และมีกฎหมาย หรือมติคณะรัฐมนตรี กำหนดให้มีการถ่ายโอนภารกิจไปยัง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา 70/1 พรบ.กบข. 4. พนักงานมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ซึ่งเคยเป็น ข้าราชการที่เข้ารับราชการก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 และมี กฎหมายกำหนดให้มหาวิทยาลัยหรือสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ เป็นหน่วยงานในกำกับของรัฐ มาตรา 70/6 พรบ.กบข.

ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย โดยสรุป ข้าราชการที่เข้ารับราชการ ก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 และปัจจุบัน(วันที่ กฎหมาย Undo มีผลใช้บังคับ) เป็นสมาชิก กบข.ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ได้สิทธิ Undo ทุกคน

และปัจจุบัน(วันที่ กฎหมาย Undo มีผลใช้บังคับ) ในทางกลับกัน ข้าราชการที่เข้ารับราชการ หลังวันที่ 27 มีนาคม 2540 และปัจจุบัน(วันที่ กฎหมาย Undo มีผลใช้บังคับ) เป็นสมาชิก กบข.ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ไม่ได้สิทธิ Undo แม้แต่คนเดียว

กบข.กำหนดโดยความเห็นชอบกระทรวงการคลัง หลักเกณฑ์และวิธีการประกอบกฎหมาย Undo การแสดงความประสงค์ การคืนเงินทั้งจำนวน หรือการแบ่งชำระเงินเป็นส่วนๆ การได้รับเงินคืน โดยการหักกลบลบกัน ระหว่างผู้รับบำนาญ กับ รัฐ กระทรวงการคลังกำหนด กบข.กำหนดโดยความเห็นชอบกระทรวงการคลัง การส่งเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสบทบ และดอกผลของเงินดังกล่าว ของผู้รับบำนาญและข้าราชการ เข้าบัญชีเงินสำรอง การคืนเงินสะสม และดอกผลของเงินดังกล่าว ให้ข้าราชการ

สถานที่ยื่นใบสมัคร Undo ส่วนราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ ส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ

หลักฐานยืนยัน การสมัคร Undo ใบสมัคร ใบรับแบบแสดงความประสงค์ (แบบ ข.1 ) สำเนาเอกสาร + รับรองสำเนาโดยส่วนราชการที่รับใบสมัคร ใบรับแบบแสดงความประสงค์ (แบบ ข.2 ) ออกจากระบบ e Pension โดยส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ใบรับรองสิทธิ (แบบ ข.3) ออกจากระบบ e Pension โดย สนง.คลังจังหวัด , กรมบัญชีกลาง (สรจ.)

เกี่ยวกับการรับสมัคร Undo สำหรับเจ้าหน้าที่ แนวทางการปฏิบัติงาน เกี่ยวกับการรับสมัคร Undo สำหรับเจ้าหน้าที่ ส่วนราชการ

1 2

ข้าราชการ Undo

สรุป ส่วนราชการ ทำทุกวัน รับใบสมัคร UNDO ของข้าราชการ ผู้รับบำนาญ ผู้รับเบี้ยหวัด (ภายใน 30 มิย.58) ถ่ายเอกสารใบสมัคร/รับรองสำเนา ให้ผู้ที่ยื่นความประสงค์ UNDO บันทึกข้อมูลในระบบ e-Pension จัดทำใบรับแบบออกจากระบบฯ รวบรวมต้นฉบับใบสมัครและใบรับแบบเสนอผู้มีอำนาจลงนาม (ต้นฉบับใบสมัครและใบรับแบบ) ส่งใบรับแบบให้ผู้ที่ยื่นความประสงค์ UNDO ออกใบเสร็จรับเงินทุกครั้งที่รับเงิน (กรณีได้รับชำระเงินจากผู้รับบำนาญ หรือผู้รับเบี้ยหวัด) บันทึกจำนวนเงินเข้าระบบ e-Pension ให้ครบถ้วน ถูกต้อง ทุกใบ

สรุป ส่วนราชการ ทำทุกวัน พิมพ์ในรายงาน (ใบปะหน้า) สรุปรายชื่อผู้นำเงินมาคืนทุก สิ้นวัน ออกจากระบบฯ (เพื่อแยกประเภทและจำนวนเอกสาร) ระบบ จะทำการ running number ใบ pay in A (เรียกในระบบ e-Pension) A = Agency จัดทำใบนำฝากปกติของสำนักงาน (จำนวนตามใบปะหน้า) เพื่อนำเงินที่ได้รับไปฝากเข้าบัญชีเงินฝากธนาคาร รัฐวิสาหกิจของ ส่วนราชการที่เปิดใหม่เป็นบัญชีกระแสรายวัน ชื่อบัญชี “รับเงิน UNDO (ชื่อส่วนราชการ)” ในวันที่ได้รับเงิน หรืออย่างช้าภายในวันทำการถัดไป อย่าลืมบันทึกระบบ GFMIS ของส่วนราชการตามปกติที่ปฏิบัติอยู่ สิ้นวันจัดเก็บเอกสารเข้าแฟ้ม

สรุป ส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ดำเนินการทุกวันที่ 1 และ 16 ของเดือน ออกรายงานสรุปรายชื่อผู้รับบำนาญที่นำเงินมาคืนประจำรอบ (ใบปะหน้า) เพื่อหาจำนวนเงินที่จะถอนออกจาก บัญชี “รับเงิน Undo (ชื่อส่วนราชการ)” ตามจำนวนเงินที่ปรากฏ ในใบรายงานสรุปฯ (ใบปะหน้า) ดังกล่าว ทำใบนำฝากธนาคาร (Pay in slip) ตามแบบที่กรมบัญชีกลางกำหนด (ขอได้ที่ สรจ.หรือ สนง.คลังจังหวัด) ตามจำนวนเงินในรายงานสรุปฯ (ใบปะหน้า) เพื่อนำเงินจากบัญชี “รับเงิน UNDO (ชื่อส่วนราชการ)” ไปฝากคลังเข้าบัญชี “เงินรับคืนของกรมบัญชีกลาง” หรือ “เงินรับคืนของสำนักงานคลังจังหวัด” ที่ธนาคารกรุงไทย

รวบรวมเอกสารใส่แฟ้มประจำรอบ ใส่ซอง UNDOพร้อมเอกสารส่งคลังจังหวัด (ต่อ) ในส่วนนี้ส่วนราชการไม่ต้องบันทึกในระบบ GFMIS เพราะเป็นหน้าที่ของ สรจ. และ สนง.คลังจังหวัด ให้จัดทำ Pay in TR (ในระบบ) โดยบันทึกเลขอ้างอิง Running number ในสำเนาใบนำฝากเงินที่ได้รับจาก ธ.กรุงไทย เข้าในระบบบำเหน็จบำนาญ (e-Pension) รวบรวมเอกสารใส่แฟ้มประจำรอบ ใส่ซอง UNDOพร้อมเอกสารส่งคลังจังหวัด

ขอความกรุณาให้แต่ละส่วนราชการ นำข้อมูลที่ได้รับในการอบรมครั้งนี้ ไปถ่ายทอดต่อยังหน่วยงานและบุคลากรในสังกัด พร้อมกับจัดทีมงาน Undo และมอบหมาย ให้แต่ละคนรับผิดชอบงาน ในด้านต่างๆตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป

ขอขอบคุณทุกๆท่าน ที่ให้ความร่วมมือ อย่างดียิ่ง