โครงการบ่มเพาะ ผู้ประกอบการกองทุนตั้ง ตัวได้ต้นแบบ
ABI in Technopreneurship Immediate 3 companies to walk through the GoSMEs process (Finish in March 2013) AI as an Angel for 9 start up companies in Edutainment on Government Tablet Program (Write up/Simulation as a case study) 100 companies which attended some government incubation programs (April 2013) In 2014 – Master Students (Reskill senior programmers to Entrepreneurs) – 4 th Year Student Apprenticeship Program to Create Business Models
บทบาทหน้าที่การดำเนินงานของ ABI ซึ่งดำเนินการโดยศูนย์นวัตกรรมและ การจัดการความรู้ บริการด้าน กฎหมาย บัญชี และการเงิน สามารถ ตรวจสอบโดยธนาคารที่เป็นผู้ให้การสนับสนุน ด้าน ธุรกรรม และเงินทุน เพิ่มเติมโดยไม่ต้องมีทรัพย์สินค้ำ ประกัน บริการด้านฝึกอบรม หรือการศึกษาต่อเนื่อง โดยสื่อ วีดีโอ บริการด้านการติดต่อสื่อสารในการพัฒนาธุรกิจ กับ ผู้ ลงทุนรายย่อยที่มีความรู้ความสามารถ (Angel) เช่นศิษย์ เก่าที่ประสบความสำเร็จและนักธุรกิจที่เห็นโอกาสทาง การศึกษาโดยการโทรศัพท์หรือ ประชุมภาพทางไกล ผ่านอินเทอร์เน็ตที่ไม่มีค่าใช้จ่ายเพิ่มเติม
บทบาทหน้าที่การดำเนินงานของ ABI ซึ่งดำเนินการโดยศูนย์นวัตกรรมและ การจัดการความรู้ บริการข่าวสารข้อมูลสื่อใหม่ ในภาษาอังกฤษ ทั้งทาง เศรษฐกิจสังคม ภาษาวัฒนธรรม และสาระบันเทิงต่างๆ โดยเฉพาะ ประเทศไทย อาเซียน และจีน บริการติดต่อรับความช่วยเหลือหรือข้อมูล จาก หน่วยงานภาครัฐ องค์กรเอกชน มาตรฐาน การวิจัย ที่ สนับสนุนธุรกิจขนาดกลางขนาดย่อม หรือแม้กระทั่ง ติดต่อทำธุรกิจร่วมกันระหว่างบัณฑิต เป็นเครือข่าย การค้า พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ กลุ่มแข่งขัน (Cluster) หรือ ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain)
วัตถุประสงค์ นำร่องแบบจำลองการบริหารจัดการกองทุนตั้งตัวใน ระดับมหาวิทยาลัย ในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ประกอบการที่เข้าร่วมโครงการฯจำนวน 20 รายได้รับ การอนุมัติเงินกู้จากธนาคาร และกองทุนตั้งตัวได้
ขั้นตอนการดำเนินงาน ปี พ. ศ มี. ค. เม. ยพ.ค.พ.ค. มิ. ย. ก.ค.ก.ค. ส.ค.ส.ค. ก.ย.ก.ย. ต.ค.ต.ค. 1. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วม โครงการฯ 2. ศึกษาความต้องการด้านองค์ความรู้ ธุรกิจ และจัดทำหลักสูตรสำหรับ ฝึกอบรมในโครงการร่วมกับ ภาคอุตสาหกรรม 3. คัดเลือก และประกาศผลผู้มีสิทธิ เข้าร่วม 4. จัดฝึกอบรมแผนธุรกิจเบื้องต้นให้กับ ผู้เข้ารับการอบรม และประเมินผลการ อบรมหลังจากจบกระบวนการแต่ละ หลักสูตร 5. ผู้ผ่านอบรมพัฒนาแผนธุรกิจ 6. ตรวจความก้าวหน้าของแผนธุรกิจ 7. นำเสนอแผนธุรกิจต่อคณะกรรมการ และสถาบันการเงิน 8. ติดตามผลการเข้าร่วมโครงการของ ผู้ประกอบการ การได้รับการอนุมัติเงินกู้ จากธนาคารและกองทุนตั้งตัวได้ 9. สรุปงาน - สรุปประเมินเนื้อหาอบรมกับการ ปรับปรุงหลักสูตรให้เหมาะสม - สรุปประเมินผลเมื่อสิ้นสุดโครงการ ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ปัญหาที่พบและวิธีแก้ไขปัญหา
หลักสูตรในการฝึกอบรม แผนธุรกิจ และวิธีการจัดทำ 40 ชั่วโมง เทคนิคการขาย 10 ชั่วโมง เทคนิคการนำเสนอแผนธุรกิจ 10 ชั่วโมง การรับคำปรึกษาส่วนตัวจากผู้ประการที่เป็น Mentor Mentor 10 ท่านละ 10 ชั่วโมง 100 ชั่วโมง รวม 160 ชั่วโมง
ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการ เชิงปริมาณ ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นผู้ประกอบการจำนวน 20 ราย โดยมีตัวแทน 2 คนต่อผู้ประกอบการ 1 ราย รวมเป็น จำนวน 40 คน เชิงคุณภาพ ผู้เข้าร่วมโครงการที่ผ่านการอบรมได้รับการอนุมัติเงิน กู้ยืมจากธนาคารและกองทุนตั้งตัวได้ ร้อยละ 100 ( ผู้ประกอบการ 20 ราย ) ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 75