รศ.ดร. เปรื่อง กิจรัตน์ภร การบริหารความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict Management and negotiation) รศ.ดร. เปรื่อง กิจรัตน์ภร
ความขัดแย้ง หมายถึง ทัศนคติและพฤติกรรมของบุคคล หรือ กลุ่มบุคคลที่มีความสนใจ หรือมีพฤติกรรมแตกต่าง กัน ไม่ลงรอยกัน และผลประโยชน์ไม่เอื้อต่อกัน
ลักษณะของความขัดแย้ง ทัศน คติระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม พฤติ กรรมระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม ทัศนคติ/ กรรมระหว่างบุคคล หรือกลุ่มไม่สอด คล้องกัน แสดงพฤติ กรรมทางลบ ความขัดแย้ง
ประเภทของความขัดแย้ง ระหว่างบุคคล ภายในกลุ่ม ระหว่างกลุ่ม ภายในองค์กร ระหว่างองค์กร ภายในบุคคล
ลำดับขั้นของความขัดแย้ง ระยะแฝงภายใน ระยะที่รับรู้ได้ ระยะที่รู้สึกได้ ระยะแสดงให้เห็นชัดเจน ระยะที่แสดงผลกระทบ การแก้ปัญหา
ผลลัพธ์ของความขัดแย้ง ด้านบวก ด้านลบ 1. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 1. ประสิทธิภาพการทำงานลดลง 2. องค์กรมีการเปลี่ยนแปลงดีขึ้น 2. บุคลากรไม่พอใจซึ่งกันและกัน 3. ลดความเสี่ยง และความล้มเหลว 3. เพิ่มความกดดันในองค์กร 4. มีความกระตือรือร้นในการทำงาน 4. เกิดความไม่ไว้วางใจซึ่งกัน
วิธี (กลยุทธ์) การจัดการกับความขัดแย้ง ประนีประนอม ความร่วมมือกัน (ชนะ-ชนะ) การยินยอม (แพ้-ชนะ) การหลีกเลี่ยง (แพ้-แพ้) การแข่งขัน (ชนะ-แพ้) สูง การรักษา ผลประโยชน์ ต่ำ ยินยอม/ร่วมมือ
การเจรจาต่อรอง หมายถึง กระบวนการที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป มี การเจรจาแลกเปลี่ยนผลประโยชน์ระหว่างกัน ซึ่ง ผลประโยชน์ดังกล่าว อาจเป็นวัตถุสิ่งของ บริการ หรือการตอบแทนใดๆ เพื่อทุกอย่างจะหาข้อยุติ ร่วมกัน
กรอบแนวคิดในการต่อรอง ใช้ความสัมพันธ์อันดีกับคู่เจรจาเพื่อต่อรอง ใช้ปัจจัยเชิงวัตถุเป็นเครื่องต่อรอง ใช้ความรู้สึก หรืออารมณ์ตัดสินความขัดแย้ง ใช้เหตุผลและปัญญาในการเจรจาต่อรอง พยายามให้มีผลประโยชน์ทั้งสองฝ่าย พยายามให้ผลประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม
สวัสดี และ ขอให้โชคดี