สถาบันคลังสมองของชาติ 26 กุมภาพันธ์ 2554 ที่ประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎ ระบบวิชาการเพื่อรับใช้สังคม สถาบันคลังสมองของชาติ 26 กุมภาพันธ์ 2554
DR M.Wedgwood, Manchester Metropolitan University Higher Education Drivers สังคม การแปลงความรู้เพื่อใช้ (Applications) การเรียนการสอนเพื่ออาชีพ LLL, Sector Skills, prof quals, employability, workforce education (Relevance) การเรียนการสอน การวิจัย การเรียนการสอนทางวิชาการ การวิจัยเชิงวิชาการ วิชาการ DR M.Wedgwood, Manchester Metropolitan University
1. การเรียนการสอน (Teaching) 3.การบริการสังคม (Social Engagement) “งานวิชาการ” 2. การวิจัย (Research) 1. การเรียนการสอน (Teaching) 3.การบริการสังคม (Social Engagement) Evaluation
1. การเรียนการสอน เพื่อผลิตบัณฑิตรับใช้สังคม ขาดตัวชี้วัดคุณภาพอุดมศึกษา ไม่รู้ว่าคุ้มค่ากับการลงทุนหรือไม่ ปัจจุบัน ใช้วิธีนับ “ตัวแทน (proxies)” ของคุณภาพ แนวโน้มในอนาคต คือการทดสอบการเรียนรู้ (Learning Outcomes) ของนักศึกษา เช่นโครงการ CLA (จะมีสัมมนา 22 เมย 54) การสำรวจผู้จ้างงาน (Employer Survey) การสำรวจบัณฑิต (Graduate Survey) การหนุนเสริมมหาวิทยาลัย/คณะวิชา ในการปรับเปลี่ยนหลักสูตร วิธีการเรียนการสอน เดนมาร์ก ควรประเมินว่า บัณฑิตเสียภาษีเท่าไรหลังจากจบออกไปทำงาน European Student Union เสนอให้ถามประสบการณ์นักศึกษา(NSSE) สหรัฐอเมริกา วิธีคิด เปลี่ยนจาก “เข้าไปรับการศึกษา” กลายเป็น “ซื้อบริการการศึกษา” เสนอให้ประเมินอัตราส่วนระหว่างเงินเดือนกับค่าใช้จ่ายที่ใช้ไปการศึกษา โดยเฉพาะอาชีวศึกษา
2. การวิจัยเพื่อรับใช้สังคม การวิจัยมีหลายประเภท(เพื่อวิชาการ เพื่อเศรษฐกิจ เพื่อสังคมและชุมชน และเพื่อนโยบาย) ใช้วิธีต่างๆกัน แต่ละประเภทคาดหวัง “ความสำเร็จ” ต่างกัน (ผลงานตีพิมพ์ สิทธิบัตร การใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงทางสังคม) แต่ละประเภทมีการ”รับรอง”ความสำเร็จต่างกัน (วารสารวิชาการ รายได้ ผลกระทบ) มหาวิทยาลัยต้องมี “ระบบนิเวศ” ที่เหมาะสมด้วย สร้างตัวชี้วัด “งานวิจัยเพื่อรับใช้สังคม” สร้างตัวชี้วัด “ระบบวิจัยของสถาบัน”
“ระบบวิจัย” Track 4: สังคมและชุมชน Track 1: นโยบาย Track 2:เศรษฐกิจ มิติ 1: นโยบายและยุทธศาสตร์ มิติ 2: องค์กรสนับสนุนทุน มิติ 3: งบประมาณ มิติ 4: หน่วยทำวิจัย มิติ 5: บุคลากร มิติ 6: โครงสร้างพื้นฐาน มิติ 7: มาตรฐาน มิติ 8: การจัดการผลผลิต มิติ 9: การประเมิน
ปัญหาในระบบ ของงานวิชาการเพื่อรับใช้สังคม ขาดการเชื่อมโยงสื่อสารระหว่างนักวิชาการกับผู้ใช้ ขาด KPI ในการกำกับดูแลนโยบายด้านนี้ ขาดเกณฑ์การประเมินความก้าวหน้าของนักวิจัยด้านนี้ ขาดงบประมาณโดยเฉพาะสำหรับงานนี้ ขาดพื้นที่แลกเปลี่ยน ขาดตัวอย่าง ขาดสนามรับรองคุณภาพงานวิชาการเพื่อรับใช้สังคม ขาดการสนับสนุนการใช้ผลงานให้ถึงที่สุด คนในสังคมไม่เห็นประโยชน์และความคุ้มค่า ขาดความสนใจจากนักวิชาการ ส่วนใหญ่สนใจเนื้อหาหรือทฤษฎีที่เรียนมา
3. การบริการสังคม (Social Engagement – USR) เช่น เพิ่ม การให้คำปรึกษา ฝึกอบรม บริการวิเคราะห์ ทดสอบ Technology Transfer, LLL ลด การปล่อยมลพิษ การใช้พลังงาน การใช้วัสดุ ดูแล การจ้างงานข้างนอก (Labour Practices) การทำธุรกิจ (Business Practices) สิทธิของนักศึกษา เปิดเผย ข้อมูล กระบวนการทำงาน
“ระบบ”ของงานวิชาการเพื่อรับใช้สังคม นักวิชาการ KPI วารสาร ผศ. รศ. ศ. รางวัล ทุน เพื่อน ร่วมงาน ความรู้ ทักษะ โครงสร้าง การจัดการ
การประเมินเป็นเงื่อนไขสำคัญ ต้องสร้างระบบประเมินใหม่! ใช้ตัวชี้วัดหลายเกณฑ์ (Multi-criteria) แยกพันธกิจมหาวิทยาลัยกลุ่มต่างๆ ประเมินระดับมหาวิทยาลัย คณะ/สาขาวิชา และบุคคล สร้าง “ระบบย่อย” ภายในสถาบัน ระบบการสนับสนุน (in cash & in kind) ระบบความก้าวหน้าและการเลื่อนตำแหน่ง ระบบการตอบแทนตามผลงาน (Performance-based) (จะมีสัมมนาวันที่ 6 พฤษภาคม)
ประเมินจากวิธีปฏิบัติที่ดี (Good Practices) วิเคราะห์สถานภาพโดยรวมของมหาวิทยาลัย ในพันธกิจวิชาการเพื่อรับใช้สังคม (Teaching, Research, Community Engagement) เลือกกรณีศึกษาที่เป็นวิธีปฏิบัติที่ดี (Good Practices) วิเคราะห์ตัวชี้วัดจากกรณีศึกษา สร้างวิธีตรวจสอบ เอกสารประกอบการตรวจสอบตัวชี้วัด สร้างพื้นที่ทางวิชาการ เช่นวารสารวิชาการเพื่อรับใช้สังคม และสนามรับรองคุณภาพ นำเข้าสู่เกณฑ์ประเมินผลงานเพื่อตำแหน่งทางวิชาการ สร้างเครือข่ายของผู้ประเมินผลงาน (Readers) สร้างตัวอย่าง (Role Model) ของนักวิชาการเพื่อรับใช้สังคม
เครื่องมือ : “การวิจัยสถาบัน (Institutional Research)” สำหรับแต่ละสถาบัน วิเคราะห์สภาพที่เป็นอยู่ (Assessment) สกัดวิธีปฏิบัติที่ดี เพื่อสร้างตัวชี้วัดสมรรถนะ Monitor การดำเนินงานด้วยตัวชี้วัด มองอนาคต (Foresight) สำหรับเครือข่ายสถาบัน มีระบบเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างสถาบัน พัฒนาเครื่องมือร่วม (โปรแกรม, Template, วิธีวิเคราะห์, Website ฯลฯ) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้/เปรียบเทียบ ระหว่างมหาวิทยาลัย
การขับเคลื่อนระบบวิชาการเพื่อรับใช้สังคม ส่วนภูมิภาค กลุ่มมหาวิทยาลัยราชกัฎอีสานตอนล่าง 22 ธค 53 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 27 มค 54 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 28 มค 54 มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ 14 กพ. 54 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 8 กพ. 54 กลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฎภาคใต้ 9 กพ. 54 ส่วนกลาง (สกอ. สมศ.) การประชุมปฏิรูปการศึกษารอบ 2 ทุกวันพฤหัสบดีต้นเดือน 0730-0930