ความหมายของแอนิเมชัน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
Advertisements

การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
วิธีการตั้งค่าและทดสอบ เครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนใช้งาน
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
Mr.Ukrit Marang Chapter 1 : Multimedia Mr.Ukrit Marang Multimedia Chapter 1.
การกำหนดปัญหา และความต้องการ (Problem Definition and Requirements)
ระบบคลังสินค้านม Milk Warehouse System ผู้จัดทำ
โครงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เกี่ยวกับระเบียบกระทรวงการคลัง
กราฟิกและเทคโนโลยีสื่อประสม
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
วิชาสื่อ ประสม ง แบบทดสอบกลางภาค
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสื่อประสม
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
XD Card.
Creating Effective Web Pages
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
(เฟส 1 ระยะทดลองใช้งาน อรม.อร.)
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
3D modeling การสร้างแบบจำลอง 3 มิติ
อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.
การสร้างสื่อนำเสนอด้วย PowerPoint
Chapter 2 Database systems Architecture
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
การเขียนรายงานการใช้เอกสารประกอบการสอน
CAD / CAM CAD : COMPUTER AIDED DESIGN การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
รายวิชา ระบบฐานข้อมูล 1 หลักการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูล
บทที่ 8 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ
วิวัฒนาการประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์กราฟิกส์
รองศาสตราจารย์ ดร.เอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์
2D VS 3D Comp & Digital ChiangMai ผู้บรรยาย อ. อภิชัย สันติ ภิรมย์กุล ครูใหญ่โรงเรียนกราฟิกและ การออกแบบ G Design.
Symbol ชนิด Button Symbol ชนิด Button.
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
วิทยา กรระสี (วท.บ. วิทยาการคอมพิวเตอร์)
Background / Story Board / Character
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว
ประเภทของแอนิเมชั่นใน Flash
Pretest.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Option Risk Managemetn
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้แผ่นพับ
การถ่ายวีดีโอ.
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
BSRU Animation STUDIOS
บทที่8 การเขียน Storyboard.
โดยใช้โปรแกรม Macromedia flash 8
อนิเมชั่น Animation สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
อนิเมชั่น Animation ดร.สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
แผนการจัดการเรียนรู้
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การแบ่งแยกและเอาชนะ Divide & Conquer
โครงการเทคนิคและเทคโนโลยีสนับสนุนงานตรวจสอบ “Risk & Control” จัดโดย สำนักงานตรวจสอบภายใน จุฬาฯ วันที่ 22 กรกฎาคม 2553.
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
โลกเสมือนจริง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
โครงการจัดทำฐานข้อมูลผ่านเว็บไซต์
บทที่ 9 แอนิเมชั่น Animation อ.ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายของแอนิเมชัน แอนิเมชัน(Animation) หมายถึง การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการฉายภาพนิ่งหลายๆภาพต่อเนื่องกัน ด้วยความเร็วที่เหมาะสม(เฟรม/วินาที)

หลักการแอนิเมชัน หลักการสร้างแอนิเมชันจะคล้ายๆกับการฉายภาพยนตร์ แต่ภาพยนตร์จะเป็นการใช้ฟิล์ม ซึ่งแต่ละเฟรมของฟิล์มจะเป็นภาพนิ่ง เมื่อนำมาฉายต่อเนื่องกันด้วยความเร็ว 24 เฟรมต่อวินาที ก็ทำให้เกิดภาพเคลื่อนไหวที่เรียกว่า ภาพยนตร์

สามารถใช้วิธีการที่เรียกว่า สต๊อปโมชัน(Stop Motion) ในการทำแอนิเมชัน โดยเป็นการถ่ายภาพวัตถุทีละภาพ ซึ่งการถ่ายภาพแต่ละครั้งจะขยับหรือเปลี่ยนแปลงวัตถุไปด้วย เมื่อนำมาฉายเรียงกันจะทำให้เกิดภาพที่เคลื่อนไหวกระตุกๆไม่ไหลลื่น เช่น การ์ตูนแอนิเมชันที่ใช้ดินน้ำมันปั้น

สามารถใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น Flash ในการทำแอนิเมชัน โดยสร้างภาพกราฟิกแบบเวคเตอร์ลงในเฟรมแล้วใช้คำสั่งให้เคลื่อนไหว โปรแกรมจะคำนวณและสร้างภาพเคลื่อนไหวแต่ละเฟรมออกมา เมื่อเราสั่งเล่นภาพด้วยความเร็วที่กำหนดจึงมองเห็นภาพนิ่งๆเคลื่อนไหวได้

ชนิดของแอนิเมชัน 1. Drawn Animation คือแอนิเมชันที่เกิดจากการวาดภาพหลายๆพันภาพ แต่การฉายภาพเหล่านั้นผ่านกล้องอาจใช้เวลาไม่กี่นาที ข้อดีของการทำแอนิเมชันชนิดนี้คือมีความเป็นศิลปะ สวยงาม น่าดู ข้อเสีย คือ ต้องใช้เวลา ในการผลิตมาก ต้องใช้ แอนิเมเตอร์จำนวนมากและ ต้นทุนก็สูงตามไปด้วย

2. Stop Motion หรือเรียกว่า Model Animation เป็นการถ่ายภาพแต่ละขณะของหุ่นจำลองที่ค่อยๆขยับ อาจจะเป็นของเล่นหรืออาจจะสร้างตัวละครจาก Plasticine วัสดุที่คล้ายกับดินน้ำมันโดยโมเดลที่สร้างขึ้นมาสามารถใช้ได้อีกหลายครั้ง และยังสามารถผลิตได้หลายตัว  ทำให้สามารถถ่ายทำได้หลายฉากในเวลาเดียวกัน  แต่การทำ Stop Momotion นั้น ต้องอาศัยเวลาและความทุ่มเทมาก เช่น การผลิตภาพยนตร์เรื่อง James and the Giant Peach สามารถผลิตได้ 10 วินาที ต่อวันเท่านั้น วิธีนี้เป็นงานที่ต้องอาศัยความอดทนมาก

3. Computer Animation ปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ที่สามารถช่วยให้การทำแอนิเมชันง่ายขึ้น เช่น โปรแกรม Maya, Macromedia และ 3D Studio Max เป็นต้น วิธีนี้เป็นวิธีที่ประหยัดเวลาการผลิตและประหยัดต้นทุนเป็นอย่างมาก เช่น ภาพยนตร์เรื่อง Toy Story ใช้แอนิเมเตอร์เพียง 110 คนเท่านั้น

ประเภทของแอนิเมชัน 1. 2D Animation คือ ภาพเคลื่อนไหวแบบ 2 มิติ มองเห็นทั้งความสูงและความกว้าง  ซึ่งจะมีความเหมือนจริงพอสมควร และในการสร้างจะไม่สลับซับซ้อนมากนักตัวอย่างเช่น  การ์ตูนเรื่อง One Piece  โดเรมอน หรือ ภาพเคลื่อนไหวที่ปรากฏตามเว็บต่างๆ รวมทั้ง Gif Animation

ตัวอย่างภาพยนตร์ 2 มิติ

2. 3D Animation คือ ภาพเคลื่อนไหวแบบ 3 มิติ มองเห็นทั้งความสูงความกว้าง และความลึก  ภาพที่เห็นจะมีความสมจริงมากถึงมากที่สุด เช่น  ภาพยนตร์เรื่อง Toy Story  NEMO เป็นต้น

ตัวอย่างภาพยนตร์ 3 มิติ ตัวอย่างภาพยนตร์ 3 มิติ Toy Story  NEMO

การเตรียมตัวสำหรับสร้างแอนิเมชัน วางโครงร่าง(Storyboard) 1 สร้างตัวละคร 2 สร้างฉาก 3 ประกอบชิ้นงาน 4

โปรแกรมที่ใช้สร้างแอนิเมชัน Flash

Pencil

Qavimator [Windows, Mac OS X, and Linux]

Posemaker [Win32 and Linux]

Slat [ไม่รองรับ vista]

Blender

DAZ Studio

Autodesk Maya

Poser

Aurora 3D Animation Maker

KoolMoves

Easy GIF Animator