การประชุมกลุ่มระดมความเห็น เพื่อเชื่อมโยงและออกแบบการพัฒนาศักยภาพ อสม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
(District Health System)
Advertisements

กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพ ทรัพยากรบุคคล และสุขภาพภาคประชาชน
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
แนะนำคู่มือเพื่อการป้องกันและดูแลปัญหาการฆ่าตัวตายสำหรับ อสม
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
วัตถุประสงค์โครงการ 3.1 สร้างและพัฒนาศักยภาพเครือข่ายโดยการอบรมให้ความรู้ในการสร้างเสริมสุขภาพจิตในครอบครัวและในชุมชน 3.2 พัฒนาตัวอย่างการดำเนินงานสุขภาพจิตในครอบครัวและชุมชนนำไปสู่ชนชนเข้มแข็ง.
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
แบ่งคณะกรรมการเป็น 2 ทีม ๆ ละ 10 คน ประกอบด้วย ประธาน (รอง ผอ. 2 ท่าน) มอบหมายกรรมการทำการประเมิน ท่านละ 1 ประเด็น (ระบุชื่อผู้รับผิดชอบใน 6 ประเด็น) แยกดูตามแผนก/พื้นที่ที่เกี่ยวข้อง.
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
นโยบายการพัฒนา ตำบลจัดการสุขภาพดี วิสาหกิจชุมชนยั่งยืน
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
“โครงการอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555”
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
วันที่ถ่ายทอด มีนาคม 2548 สถานที่ถ่ายทอด โรงแรมเทวราช อ.เมือง จ.น่าน
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ผังการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีเพชร
ยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมวัยรุ่น จังหวัดเพชรบุรี
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
(District Health System)
ท้อง ถิ่น รพ สต ผู้นำ ชุมชน อสมอสม กอง ทุนฯ ประกาศ ค่ากลาง บูรณาการ งาน ติดตาม สนับสนุน ประเมินผ ล สร้าง โครงการ เปิดงาน บทบาทของฝ่ายต่างๆในการเปลี่ยนผ่าน.
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ดร.นพ.พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้อำนวยการสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
ปัญหาและแนวทางการดำเนินงาน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ. สต
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
สรุปผลการดำเนินงานฯ ปีงบ 2556
“โครงการสร้างสุขระดับจังหวัด….” จากแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต(สสส.)
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ(SLM) ร่วมสองกรม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานระดับกระทรวงสาธารณสุข ปี 2557
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
สุพรรณบุรี....
การพัฒนาอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
วาระการประชุมงานสร้างสุขภาพ
มุมมองการพัฒนาและขับเคลื่อน งานกองทุนฯอย่างยั่งยืน
การประเมินคลินิกNCD คุณภาพ
ผลการดำเนินงาน แม่บ้านสาธารณสุข
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.เลย
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
สรุปโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพ อสม.ปี 2550
นโยบายยางน้อยสุขภาพดี ไม่มีพุง
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
โครงการสร้างความเข้มแข็ง การพัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
สกลนครโมเดล.
การอบรมอาสาสมัครดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
นโยบายการทำงาน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปี 2558
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
กำหนดตรวจราชการฯ (M&E) สสจ.เพชรบุรี เลื่อนจาก วันที่ 16 พฤษภาคม 2557 เป็นวันที่ 28 พฤษภาคม 2557.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
กลุ่มที่ 5 และกลุ่มที่ 12. สรุปกระบวนการและ ข้อเสนอแนะ การนิเทศ รพ. สต. รอบที่ 1 เป็นแนวคิดที่เน้นการนิเทศงานแบบ กระบวนการทำงานของแต่ละพื้นที่ ซึ่งไม่มีรูปแบบตายตัว.
นวัตกรรม7สี ปันรัก ไกลโรค ปี2556
การเลือกตั้งผู้แทนพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ตามหนังสือ สธ ว 152 ลว
แนวทางการพัฒนาหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคฯ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประชุมกลุ่มระดมความเห็น เพื่อเชื่อมโยงและออกแบบการพัฒนาศักยภาพ อสม การประชุมกลุ่มระดมความเห็น เพื่อเชื่อมโยงและออกแบบการพัฒนาศักยภาพ อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชนในพื้นที่ตำบลจัดการสุขภาพ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเองและประชาชน (วันที่ 5 เมษายน2556) @จังหวัดสุพรรณบุรี

ทีมงานจังหวัดสุพรรณบุรี ประธาน : คุณสุนทร อุทรทวิการ ณ อยุธยา รองประธาน : คุณเจิด ปิ่นทศิริ หน.กลุ่มงานสร้างสุขภาพภาคประชาชน เลขา: คุณประทีป สุภาภาและผู้รับผิดชอบงาน สช. สมาชิก คุณสุภาพ ฉัตรนุกูล สสอ.สองพี่น้อง คุณพิทักษ์ กาฬภักดี สสอ.ด่านช้าง คุณธีระพงษ์ ศรีสุวรรณ สสอ.บางปลาม้า คุณธานินทร์ เพ็งอ้น สสอ.เมือง คุณปรีชา พลายละหาร สสอ.ศรีประจันต์และผู้รับผิดชอบงาน สช. คุณศรราม สุขตะกั่ว สสอ.หนองหญ้าไซ คุณภัควัฒน์ ใจบุญ สสอ.สามชุก คุณพรรณิภา นวกุล สสอ.อู่ทอง คุณธงเทพ วงษ์ศรีสังข์ และผู้รับผิดชอบงาน สช.สสอ.เดิมบางนางบวช

รูปแบบการอบรม 1.อบรมเป็นรายอำเภอ โดยใช้ - ทีมครู ก - ทีมอำเภอ (ครู ข ) - ทีมวิทยากรเฉพาะด้าน ( 3 อ + 2 ส)

แนวทางการดำเนินงาน 1.อบรม อสม.นักจัดการสุขภาพ(ตำบลเป้าหมาย) เมษายน - พฤษภาคม 2556 2.อมรบอสม.เชี่ยวชาญ 2สาขา เมษายน 2556 ดังนี้ 2.1 การจัดการสุขภาพ 2.2 สาขาอื่นๆตามสภาพปัญหา * สาขาส่งเสริมสุขภาพ(NCD)อมรมพร้อม อสม.นักจัดการสุขภาพชุมชน

สาขาส่งเสริมสุขภาพ(NCD) เป้าหมายอบรม อสม.ปี 2556 จังหวัดสุพรรณบุรี อำเภอ สาขานักจัดการสุขภาพ สาขาส่งเสริมสุขภาพ(NCD) วันที่อบรม อู่ทอง 56 คน ตามเป้าหมายแต่ละพื้นที่ 14-15 พ.ค. 56 สองพี่น้อง 8-9 พ.ค.56 ดอนเจดีย์ 21-22 พ.ค.56 ด่านช้าง 28-29 พ.ค.56 ศรีประจันต์ 29-30 พ.ค.56

ปฏิทินการดำเนินงาน(ต่อ) อำเภอ สาขานักจัดการสุขภาพ สาขาส่งเสริมสุขภาพ(NCD) วันที่อบรม เมือง 56 คน ตามเป้าหมายแต่ละพื้นที่ 22-23 พ.ค.56 สามชุก บางปลาม้า เม.ย.56 เดิมบางนางบวช 8-9 พ.ค.56 หนองหญ้าไซ พ.ค.56

รูปแบบและวิธีการอบรม วันที่/เวลา 9.00 - 12.00 12.00-13.00 13.00 -16.00 วันแรก เปิดการอบรม 1.Empowerment 2.การประเมินตำบลจัดการ -วิธีการประเมิน - แบบกระทรวง - คิดเองโดยทีมสุพรรณ - อสม.นักจัดการ(ขณะอบรม และหลังอบรม -แบบประเมิน บทบาทนักจัดการร่วมประเมิน ทีมประเมินชุดใหญ่ - สาธารณสุข/พัฒนาชุมชน/เกษตร /ภาคีเครือข่าย /อื่นๆ พักกลางวัน 3. การจัดทำแผน(แผนการมีส่วนร่วมของประชาชน แบบง่ายตามวิถีชาวบ้าน) - Empowerment - งานฝีมือ

รูปแบบและวิธีการอบรม วันที่/เวลา 9.00 - 12.00 12.00-13.00 13.00 -16.00 วันที่สอง 4.กาจัดการสื่อสรและประสานงาน - ใบแบบการเรียนการสอน ปี 53 5.กระบวนการ 3อ. 2ส. (รูปแบบโดยการจัดการเรียนการสอนแบ่งเป็น 3 ฐาน) พักกลางวัน 6.การจัดการอารมณ์ -อภิปราย/สรุป (สรุปแผนการประเมินทุก 3 เดือน โดยรวมเรื่อง วิสาหกิจชุมชน สุขภาพดีวิถีไทย) 7.รับใบประกาศ ปิดการอบรม

การอบรม อสม.เชี่ยวชาญ อบรม ปี55 แล้ว 20% (ทุกสาขา) อบรม ปี55 แล้ว 20% (ทุกสาขา) ปี 56 อบรมให้ได้ 50% ( สาขาการจัดการสุขภาพ และ ตามความต้องการของแต่ละ อำเภอ) กำหนดการอบรม 9-10 เมษายน 2556 ณ โรงแรมศรีอู่ทองแกรนด์ ติดตามประสานงานกันเป็นระยะๆ โดยผู้รับผิดชอบระดับจังหวัด และอำเภอ

กิจกรรมหลังจากอบรม ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม(โดย รพ.สต.ในพื้นที่) ทุก 1 เดือน จำนวน 2 ครั้ง นิเทศติดตาม โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในตำบลจัดการ สุขภาพเป้าหมาย (ทีมไขว้ ของตำบล)