ผลการดำเนินงาน โครงการ หนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน ปี 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
Advertisements

โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
ลานวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน สร้างอาชีพ
การศึกษาดูงานด้านการเพาะเลี้ยงและการส่งเสริมของเจ้าหน้าที่ส่งเสริม ผู้นำหมู่บ้านและเกษตรกรหมู่บ้านเป้าหมายสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ครั้งที่ 1) ภายใต้โครงการพัฒนาการเลี้ยงปลาในชนบทแขวงจำปาสักและแขวงเซกอง.
หลักเกณฑ์การคัดเลือก 1. มีกิจกรรมการเลี้ยงสัตว์ที่ประสบผลสำเร็จ
วันที่ 10 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุม ส.ส.ส.
ภาพรวมการจัดสรรงบประมาณในแต่ละโครงการของศูนย์ สช. ภาคกลาง ปี 2555
โรงเรียน อสม. ตำบลหนองไม้แก่น อ.แปลงยาว จ.ฉะเชิงเทรา
ของฝากจากอาจารย์ อ้อ ชุดที่ 36 อาจารย์อ้อ ภูมิใจเสนอ
องค์ประกอบ/กระบวนงานด้านการคุ้มครองเด็ก ในระดับจังหวัดสมุทรสาคร
ตำบลบ้านเหล่า อำเภอเจริญศิลป์
ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การจัดทำแผนปฏิบัติการ ศึกษาพัฒนาและผลิตสื่อ ทางประวัติศาสตร์ในชุมชน
แนวทางการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
สมาชิกกลุ่มที่ 1 นางวันเพ็ญ มหาชัย อ.วังวิเศษ จ.ตรัง ประธาน
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิเชียร อารยะสมสกุล
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวิชุล บุญสิม
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายเพิ่มพูน มาประกอบ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายอามะ แวดราแม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลช้างทูน อำเภอบ่อ ไร่ จังหวัดตราด.
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายวินัย ไชยอุดม
กิจกรรมดีเด่นด้านการบริหารจัดการศูนย์บริการฯ
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสมบัติ เซี่ยงว่อง
- กรมส่งเสริมการเกษตร -
สำนักงานเกษตรจังหวัดอ่างทอง
ศูนย์เรียนรู้การเกษตรพอเพียง ปี 2550 กรมส่งเสริมการเกษตร
องค์ความรู้ เรื่อง การปลูกถั่วฝักยาว
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน
โครงการศูนย์เรียนรู้พันธุ์พืชอำเภอ
การดำเนินงาน และพัฒนายุวเกษตรกร
การจัดตั้งสภาวัฒนธรรมตำบล
สร้างแกนนำหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ ปี พฤศจิกายน 2557 โรงแรมเรือนแพ รอยัลปาร์ค พิษณุโลก.
คำขวัญจังหวัดอุดรธานี
โครงการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการผลิตเมล็ดพันธุ์พืชรองรับ
การดูแลรักษาต้นทุเรียนเป็นโรค ชื่อจุดถ่ายทอดเรื่อง ไร่นาสวนผสม วิทยากรประจำจุด นางอุษา เปรมมิตร เบอร์ โทรศัพท์ สถานที่ดำเนินการ 46 หมู่ 7 ตำบลกระแจะ.
ผลการดำเนินงานวิจัยกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดตรัง
องค์ความรู้ การพัฒนาผลิตภัณฑ์การทอเสื่อกก กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกลุ่มทอเสื่อกกบ้านนาหมอม้า ผู้ให้องค์ความรู้ นางนิ่ม นวลขาว ที่อยู่ 961 หมู่ 7.
เกษตรอินทรีย์ชีวภาพบ้านตะโกสิงห์หมู่ 9 ตำบลอีสานเขต
ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายมะหะหมัด โต๊ะยะลา
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลดอนดึง อำเภอ บ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นายสุ กัญญา หนุนบุญ เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ศูนย์บริการและถ่ายทอด เทคโนโลยีการเกษตร ประจำตำบลและ อำเภอทุ่ง ช้าง จังหวัดน่าน ประธานคณะกรรมการบริหารศูนย์ นาย จิตร เสียงกอง เลขานุการคณะกรรมการบริหารศูนย์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการดำเนินงาน โครงการ หนึ่งหลักสูตรหนึ่งชุมชน ปี 2557 ชื่อโครงการ การฟื้นฟูและอนุรักษ์ฟื้นฟูการย้อมคราม บ้านหนองบัวน้อย

บทนำ จากการดำเนินงานโครงการ 1 หลักสูตร 1 ชุมชน บ้านคำแก้ว ตำบลดงดวน อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ได้สร้างให้ชุมชนมีความเข้มแข็ง และสามารถเป็นกลุ่มที่สามารถเป็นต้นแบบในการผลิตและใช้สีจากธรรมชาติในชุมชนมากขึ้น และได้มีการขยายพื้นที่การย้อมสีธรรมชาติ มาที่บ้านบ้านหนองบัวน้อย ตำบลดงดวน อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม เป็นหมู่บ้านิยู่ไกล้เคียงกัน และหมู่บ้านนี้มีการสืบทอดวัฒนธรรมในด้านการปลูกหม่อน การเลี่ยงไหม การทอผ้า หรือแม้แต่การนำวัตถุดิบจากธรรมชาติในท้องถิ่นมาใช้ในกระบวนการย้อม จากบรรพบุรุษ แต่กระบวนการย้อมสีบางอย่างยังเหลือในชุมชน เช่น การย้อมแก่นขนุน ได้สีเหลือง การย้อมมะเกลือ แต่สีที่สูญหายไปจากชุมชน ไม่น้อยกว่า 50 ปี คือการย้อมสีคราม ดังนั้นชุมชนจึงมีความต้องการที่จะนำภูมิปัญญาด้านการย้อมสีครามนั้นกลับมาในชุมชนอีกครั้งและมีความตั้งใจที่จะให้คราม อยู่คู่บ้านหนองบัวน้อยสืบต่อไป

วัตถุประสงค์การดำเนินโครงการ เพื่อศึกษาสถานการณ์การย้อมสีครามในชุมชน โดยการจัดเวทีการสอบถามสถานการณ์ในการย้อมครามของชุมชน ถ่ายทอดเทคนิคการย้อมสีครามทีเหมาะสมกับชุมชน เพื่อฟื้นฟูอนุรักษ์การปลูกคราม ได้ชุดความรู้การย้อมครามและเผยแพร่แก่ชุมชน

การดำเนินโครงการ ลงพื้นที่เพื่อศึกษาสถานการณ์การย้อมสีครามในชุมชน โดยการจัดเวทีการสอบถามสถานการณ์ในการย้อมครามของชุมชนโดยผลจากการสัมภาสณ์ เตรียมการประชุมกลุ่ม เพื่อเตรียมความพร้อมด้านพื้นที่ที่ใช้ปลูก และเมล็ดพันธุ์ ภาพที่ 1 สอบถามสถานการณ์ชุมชน ภาพที่ 2 สมาชิกในชุมชน ภาพที่ 3 เตรียมเมล็ดคราม

การเกี่ยวต้นครามนำมามัดเพื่อนำมาแช่น้ำเตรียมหมัก ภาพ กิจกรรมการทำเนื้อ คราม การเกี่ยวต้นครามนำมามัดเพื่อนำมาแช่น้ำเตรียมหมัก ลักษณะของน้ำจากต้นครามและเศษครามที่ได้จากการแช่ทิ้งไว้ประมาณ 48 ชั่วโมง

นำน้ำครามที่หมักได้มากรองเศษใบไม้ออก ชั่งปูนขาวเตรียมทำเนื้อคราม ละลายปูนขาวที่เตรียมไว้ผสมกับน้ำครามเล็กน้อย

การทำเนื้อคราม (ต่อ) ผสมน้ำครามกับปูนขาวจนเกิดฟอง ลักษณะของครามที่ผสมกับปูนขาวจนเหมาะสมแล้วปล่อยให้ตกตะกอน 24 ชั่วโมง หลัง 24 ชั่วโมงตักน้ำใสออกแล้วน้ำเนื้อตะกอนด้านล่างมากรองอีกครั้ง

ภาพกิจกรรมการก่อหม้อคราม และการย้อมคราม น้ำด่างมะขามเปรี้ยว นำมาผสมกันตามอัตราส่วน แล้วคนให้เข้ากัน น้ำด่างจากเถ้า เนื้อคราม ภาพ วัตถุดิบในการย้อมคราม ภาพการย้อมคราม

ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้อนุรักษ์ฟื้นฟูการปลูกครามให้มีกลับมาในชุมชนอีกครั้งหนึ่ง สร้างความสามัคคีในชุมชน และชุมชนมีการทำงานเป็นทีมมากขึ้น เนื่องจากการดูแลหม้อครามและการย้อมสีครามต้องใช้ความสนใจ และเอาใจใส่อย่างสม่ำเสมอ และจากการดำเนินการโครงการในครั้งนี้ยังได้สร้างชุดความรู้เรื่อง คราม ให้กับชุมชนและคนทั่วไปที่สนใจในเรื่องการย้อมสีจากคราม และเป็นแหล่งผลิตเนื้อคราม ย้อมคราม ในจังหวัดมหาสารคาม

ผลจากการดำเนินงานโครงการ ชุมชนบ้านหนองบัวน้อยได้ส่งหมู่บ้านเข้าประกวด 2 โครงการ คือ 1 โครงการชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง และ 2 โครงการเครือข่ายพัฒนาชุมชน โดยการส่งประกวดผลงานทางพัฒนาชุมชน อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ปี 2557 ** การดำเนินงานโครงการมีส่วนร่วมในการประกวด โดยการส่งเสริมให้ชุมชนมีการนำวัตถุดิบในชุมชนมาใช้ และยังสร้างแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ แปลงปลูกคราม ที่ใช้ในการประกอบอาชีพ การปลูกหม่อนเลี้ยงไหม และยังช่วยในด้าน ทำนุศิลปวัฒนธรรม ของชุมชนควบคู่บริการวิชาการ ในการส่งเสริมการฟื้นฟูอนุรักษ์การย้อมสีครามที่สูญหายไปจากชุมชน

ผลการประกวด โครงการ ที่ 1โครงการชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ได้รับรางวัลที่ 1 ผลการประกวด โครงการ ที่ 1โครงการชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ได้รับรางวัลที่ 1 * รับรางวัลวันที่ 15 ตุลาคม 2557 ผลการประกวด โครงการ ที่ 2 โครงการเครือข่ายพัฒนาชุมชน ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 รับรางวัลวันที่ 29 กันยายน 2557