การเปิดเผยข้อมูล ตามแบบ 56-1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
SET Listing Requirements 2005
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
ทิศทางการดำเนินงานกองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การวิเคราะห์และประเมินค่างาน
การเสนอโครงการวิทยานิพนธ์
Training Management Trainee
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
การอนุญาตให้ foreign issuer เข้ามาเสนอขายหลักทรัพย์
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
SMART Disclosure Program
Graduate School Khon Kaen University
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
ระบบการบริหารการตลาด
โครงการพัฒนา (Cross Function) กลุ่ม Tsunami2.
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
การเปิดเผยข้อมูลและ นโยบายการบัญชี
คำถามของการบริหารการค้าปลีก
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติระดับกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข เขตตรวจราชการที่ 5 ประจำปีงบประมาณ
ภาพรวมการลงทุน ของ กบข.
การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA: Public Sector Management Quality Award)
การทำรายงานสรุปคุณภาพน้ำประจำปี
การทำความเข้าใจกับงบทดลอง
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
เกณฑ์ Benchmark ใหม่ ของกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
ความสำคัญของการออม เพื่อเกษียณอายุ
การวางแผนและ การจัดทำ IT Audit
The 5 most satisfied items
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความโปร่งใส ในกระบวนงานกระบวนการพัฒนาและคุ้มครองพิทักษ์สิทธิเยาวชน (การเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาเด็กและเยาวชน) ของสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก.
ความรู้เบื้องต้นในการวินิจฉัยธุรกิจ
Good Corporate Governance
โครงสร้างและวัฒนธรรมองค์การ (Organizational Structure and Culture)
การจัดทำคู่มือ การปฏิบัติงาน Work Manual
ผลสรุปการแบ่งกลุ่มย่อยประชุมวิชาการเชิงปฏิบัติการ
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
การประชุมชี้แจงสาระสำคัญของประกาศ คพร.
แนวทางการจัดทำมาตรฐานความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2557
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการรวบรวม ความคิดเห็นของประชาชนที่ซื้อคอมพิวเตอร์จากโครงการคอมพิวเตอร์ ไอซีที เพื่อคนไทย พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
ฝ สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน / ผู้ประกอบการ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
วิเคราะห์ความขัดแย้งจากบทความ
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ และ แผนธุรกิจ
Self Assessment Self Assessment คือการประเมินตนเอง คือวิธีการที่จะทำให้องค์กรได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็งของตนเอง สามารถนำไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงองค์กรให้มีประสิทธิภาพ.
1 รายงานสถานะกองทุน และผลการดำเนินงาน กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ซึ่งจดทะเบียนแล้ว.
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนรายงานหมวดที่ 7 : ผลลัพธ์การดำเนินการ.
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
การบริหารและกระบวนการวางแผน
ตัวอย่างการพยากรณ์ยอดขาย
ตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการดำเนินการ มาตรการประหยัดพลังงาน
นโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนขนาดเล็ก
การจัดทำแผนธุรกิจ.
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
กำลังคน กระทรวงสาธารณสุข
ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงานของส่วนราชการ
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การควบคุมผลกาปฏิบัติงาน
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข ว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหา
ปริมาณสำรองปิโตรเลียม
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
วิสัยทัศน์จังหวัด “เมืองน่าอยู่ ประตูการค้าชายแดน”
แหล่งที่มาและการใช้ไปของเงินทุนในสหกรณ์ เครดิตยูเนี่ยน
ชื่อกิจการ เจ้าของกิจการ.
หน่วยที่1 ข้อมูลทางการตลาด
บทที่ 7 การควบคุมเชิงกลยุทธ์
กลุ่ม สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร.
Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Report 2550 Capacity Building 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy.
บทที่ 3 งบแสดงฐานะการเงินรวม ณ วันซื้อหุ้น
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเปิดเผยข้อมูล ตามแบบ 56-1 วันที่ 17 พฤศจิกายน 2557 ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาบริษัท สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

ความสำคัญของแบบแสดงรายการข้อมูลประจำปี(56-1) บริษัทจดทะเบียน เป็นช่องทางในการ สื่อสารกับผู้ถือหุ้น / ผู้ลงทุน เป็นภาพลักษณ์ / เพิ่ม value added แก่บริษัท ช่วยในการระดมทุน (filing ตราสารหนี้) ผู้ลงทุน เป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจลงทุน ใช้ติดตาม/ตรวจสอบการบริหารงาน ของฝ่ายจัดการ 2

แบบ 56-1 ใหม่ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ปี 2557 ในการสุ่มแบบ 56- 1 ประจำปี 2556 พบว่า มีบริษัทที่ใช้แบบฟอร์มเดิม จำนวน 3 บริษัท

ใช้แบบ 56-1 ของเดิม

เปรียบเทียบแบบ 56-1 ของเดิมและของใหม่ แบบ 56-1 เดิม แบบ 56-1 ปัจจุบัน 5

ประเด็นบกพร่องที่สำคัญ ๆ ในส่วนอื่น ๆ ปัจจัยความเสี่ยง โครงสร้างเงินทุน โครงสร้างการจัดการ การกำกับดูแลกิจการ รายการระหว่างกัน CSR & Anti corruption MD&A 6

ปัจจัยความเสี่ยง : ไม่เปิดเผยความเสี่ยงการบริหารจัดการ กรณีมีกลุ่มผู้ถือหุ้นใหญ่ควบคุมสิทธิออกเสียงเกินกว่ากึ่งหนึ่ง ตัวอย่างการเปิดเผยที่ดี 7

ปัจจัยความเสี่ยง : ไม่ได้ปรับปรุงความเสี่ยงของธุรกิจให้เป็นปัจจุบัน ความเสี่ยงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงกฎหมาย กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ถุงพลาสติก ปัจจุบันในบางประเทศได้มีการออกกฎหมายห้ามใช้ถุงพลาสติกบางประเภท เช่น ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนได้มีการออกหมายห้ามการผลิตถุงพลาสติกที่บางกว่า 0.025 มิลลิเมตรและห้ามใช้ถุงดังกล่าวในซุปเปอร์มาร์เกต และร้านค้าต่าง ๆ นอกจากนี้ ยังกำหนดให้ผู้ค้าปลีกเรียกเก็บค่าถุงจากลูกค้าที่ต้องการใช้ถุงพลาสติก, ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศสและสาธารณรัฐอิตาลีอยู่ระหว่าง การดำเนินการที่จะออกกฎหมายห้ามใช้ถุงที่ไม่สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติตั้งแต่ปี 2553 เป็นต้นไป ดังนั้น การออกกฎหมายดังกล่าวอาจส่งผลกระทบต่อปริมาณการใช้ถุงพลาสติกในอนาคต ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อรายได้ของบริษัทในฐานะที่เป็นผู้จำหน่ายวัตถุดิบให้แก่กลุ่มผู้ผลิตถุงพลาสติกได้ อย่างไรก็ดี ผู้บริหารของบริษัทประเมินว่า กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้ถุงพลาสติกดังกล่าว เป็นเพียงการลดหรือเลิกใช้ถุงพลาสติกบางประเภทซึ่งจะส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนประเภทของการใช้ถุงพลาสติกเท่านั้น ซึ่งในฐานะที่บริษัทเป็นหนึ่งในผู้นำด้านการจัดเตรียมวัตถุดิบให้แก่ผู้ประกอบการแปรรูปผลิตภัณฑ์พลาสติก การเพิ่มข้อกำหนดหรือกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์พลาสติกจึงนับเป็นโอกาสของบริษัทในการที่จะเสนอบริการและเข้าไปมีส่วนร่วมในการพัฒนาสินค้ากับผู้ประกอบการผลิตถุงพลาสติกต่าง ๆ เพื่อให้สามารถปฏิบัติตามข้อกำหนดของประเทศต่าง ๆ ได้มากขึ้น อาทิ การพัฒนาวัตถุดิบซึ่งทำให้ผลิตถุงพลาสติกที่มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ หรือ การพัฒนาวัตถุดิบเพื่อใช้ผลิตถุงพลาสติกที่สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติ เป็นต้น โดยในปัจจุบัน บริษัทเป็นหนึ่งในสมาชิกผู้จัดตั้งสมาคมพลาสติกชีวภาพไทย ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพในประเทศ ตัวอย่างการเปิดเผยที่ไม่ดี 8

ปัจจัยความเสี่ยง : ไม่ได้เปิดเผยผลกระทบเป็นตัวเลข 3.1.2 ความเสี่ยงจากภัยการก่อการร้ายในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ บริษัทมีการรับงานก่อสร้างในจังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ จังหวัดนราธิวาส และปัตตานี โดยทางบริษัทจะได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีของรายได้ที่เกิดในสองจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่ง ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัทมีมูลค่างานก่อสร้างในสองจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ยังไม่รับรู้รายได้ จำนวน 181.94 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ13 ของมูลค่างานที่ยังไม่รับรู้รายได้ ดังนั้น บริษัทอาจประสบปัญหาการก่อสร้างล่าช้า หรือไม่สามารถส่งมอบงานก่อสร้างได้ทันตามกำหนดเวลาของสัญญา หรือบริษัทอาจประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงานในการก่อสร้าง เนื่องจากสถานการณ์ความไม่สงบเรียบร้อยในพื้นที่ใกล้เคียง อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมาเป้าหมายหลักของการก่อความไม่สงบเรียบร้อย คือ แหล่งชุมชน และตลาด ซึ่งงานก่อสร้างของบริษัท ไม่ได้อยู่ในบริเวณเป้าหมายหลักของผู้ก่อการร้าย ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของบริษัทที่จะไม่รับเหมาก่อสร้างในพื้นที่ที่ตกเป็นเป้าหมายของผู้ก่อการร้าย ประกอบกับที่ผ่านมาโครงการที่บริษัทอยู่ระหว่างดำเนินการก่อสร้างยังไม่เคยถูกก่อการร้าย อย่างไรก็ตาม เพื่อความปลอดภัยของแรงงาน พนักงาน และสถานที่ก่อสร้าง บริษัทจึงได้กำหนดมาตรการรักษาความปลอดภัยเพิ่มขึ้นจากปกติ และยังได้ประสานงานกับหน่วยงานราชการในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อติดตามสถานการณ์ต่าง ๆ อย่างใกล้ชิด รวมถึงบริษัทได้ขุดคูน้ำ ไว้โดยรอบสถานที่ก่อสร้าง ซึ่งมีความกว้างเกินความสามารถในการกระโดด และมีการล้อมรั้วลวดหนามรอบสถานที่ก่อสร้าง รวมทั้งบริษัทจะเปิดไฟส่องสว่างในเวลากลางคืน ส่วนการจ้างแรงงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้นบริษัทจะไม่ใช้แรงงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ เพื่อป้องกันปัญหาผู้ก่อการร้ายแฝงตัว โดยบริษัทจะจัดจ้างแรงงานจากส่วนกลางในอัตราพิเศษ ซึ่งสูงกว่าอัตราจ้างปกติ ประมาณร้อยละ 50 ทั้งนี้ นับแต่ปี 2548 บริษัทได้ดำเนินการก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงชีวมวลจังหวัดยะลา จนถึงปัจจุบัน บริษัทยังไม่ประสบปัญหาการก่อการร้ายในสถานที่ก่อสร้างและไม่ประสบปัญหาขาดแคลนแรงงานแต่อย่างใด ตัวอย่างการเปิดเผยที่ดี 9

ปัจจัยความเสี่ยง : ไม่เปิดความเสี่ยงของธุรกิจใหม่ ๆ ของบริษัทหรือไม่เปิดเผยความเสี่ยงของบริษัทย่อย ตัวอย่างการเปิดเผยที่ไม่ดี 10

โครงสร้างเงินทุน : ไม่ได้เปิดเผย Ultimate shareholder หรือไม่ได้ระบุกลุ่มผู้ถือหุ้น ตัวอย่างการเปิดเผยที่ดี 11

โครงสร้างเงินทุน : ไม่ได้เปิดเผย Ultimate shareholder ตัวอย่างการเปิดเผยที่ดี 12 หมายเหตุ (1) สัดส่วนการถือหุ้นของเทเลนอร์ข้างต้นไม่รวมหุ้นที่เทเลนอร์ถือผ่าน CDP ในตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ จำนวน 350,000 หุ้น หากรวมหุ้นที่เทเลนอร์ถือผ่าน CDP หุ้นที่เทเลนอร์ถืออยู่ในบริษัทจะมีจำนวน 1,009,172,497 หุ้น หรือคิดเป็นร้อยละ 42.62 ทัง้ นี ้เทเลนอร์เป็นบริษัทย่อยของบริษัท Telenor ASA ซึ่งประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นในบริษัทอื่น (Holding company) โดยมีรัฐบาลนอร์เวย์ถือหุ้นมากกว่าร้อยละ 50 เล็กน้อย และในปี 2550 เทเลนอร์ร่วมกับ บจก. ไทย เทลโค โฮลดิง้ ส์ และยูคอมได้แจ้งความเป็นกลุ่มไว้ในส่วนที่เกี่ยวกับการถือหุ้นของตนในบริษัทต่อสำนักงาน ก.ล.ต. แต่ปัจจุบัน ยูคอมมิได้ถือหุ้นในบริษัทแล้ว

โครงสร้างเงินทุน : ไม่ได้เปิดเผย Ultimate shareholder ตัวอย่างการเปิดเผยที่ดี ข้อแนะนำ บริษัทควรระบุด้วยว่ากลุ่มเดียวกัน เป็น acting in concert หรือไม่ 13

โครงการจัดการ : เปิดเผยรายชื่อผู้บริหาร 4 รายแรก ไม่ตรงกับ organization chart ตัวอย่างการเปิดเผยที่ไม่ดี บริษัท HHH ผู้บริหาร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 บริษัท มีผู้บริหารทั้งหมด 5 ท่านดังนี้ ชื่อ ตำแหน่ง นาย AA นาย BB นาง CC นาย DD น.ส. FF รองประธาน ประธานบริหาร และ หัวหน้าฝ่ายบริหาร ประธานอำนวยการและหัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ รองประธานบริหารและหัวหน้าฝ่ายการเงิน รองประธานและผู้จัดการโรงงาน ผู้จัดการอาวุโสแผนกบัญชี 14

และผู้อำนวยการฝ่ายข้อมูล โครงการจัดการ : เปิดเผยรายชื่อผู้บริหาร 4 รายแรก ไม่ตรงกับ organization chart ตัวอย่างการเปิดเผยที่ไม่ดี คณะกรรมการบริษัท HHH คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ ดูแลกำกับกิจการที่ดี หน่วยตรวจสอบภายใน คณะกรรมการ บริหารความเสี่ยง คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหาร รองประธาน ประธานบริหาร และหัวหน้าฝ่ายบริหาร ประธานอำนวยการ และหัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ รองประธาน หัวหน้าฝ่ายการเงิน และผู้อำนวยการฝ่ายข้อมูล รองประธาน และผู้จัดการทั่วไป โรงงานลำพูน รองประธาน และผู้จัดการทั่วไปโรงงานอยุธยา รองประธาน และผู้จัดการทั่วไป โรงงานจีน รองประธาน และผู้จัดการทั่วไป โรงงานลพบุรี ผู้จัดการอาวุโสฝ่ายบัญชี และการเงิน ผู้อำนวยการฝ่ายคอมพิวเตอร์ และสาระสนเทศ ฝ่าย Corporate Affairs 15 ฝ่ายบัญชี และการเงิน ฝ่ายบัญชี และการเงิน ฝ่ายบัญชี และการเงิน ฝ่ายบัญชี และการเงิน

การกำกับดูแลกิจการ : ไม่ได้ระบุวงเงินของผู้มีอำนาจในการอนุมัติ คำแนะนำจากคู่มือ 56-1 16

การกำกับดูแลกิจการ : บริษัทไม่มีคณะกรรมการสรรหา และ ไม่ได้ระบุวิธีสรรหากรรมการและผู้บริหารระดับสูง คำแนะนำจากคู่มือ 56-1 17

รายการระหว่างกัน : เปิดเผยข้อมูลโดยการอ้างอิงไปยัง หมายเหตุประกอบงบการเงิน ตัวอย่างการเปิดเผยที่ไม่ดี บริษัทมีรายการบัญชีที่เกิดขึ้นกับบริษัทที่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งบริษัทเหล่านี้เกี่ยวข้องกันโดยการถือหุ้น โดยบริษัทถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 65 ถึงร้อยละ 99.99 และ / หรือ มีกรรมการร่วมกัน รายการซื้อขายหรือรายการระหว่างกันที่เกิดขึ้น เป็นรายการระหว่าง นิติบุคคล ต่อ นิติบุคคล ไม่มีรายการใดทำกับบุคคลหรือบุคคลที่เกี่ยวโยง รวมทั้งเงื่อนไขการกำหนดราคาหรือผลตอบแทนเป็นไปตามเกณฑ์ปกติของธุรกิจ และเป็นไปตามเงื่อนไขการค้าทั่วไป ตามหมายเหตุประกอบงบการเงินข้อ 5 ซึ่งได้แสดงขนาดของรายการ และ นิติบุคคลที่เกี่ยวข้องไว้แล้ว บริษัทยังเปิดเผยไม่ครบถ้วนตามข้อกำหนดในแบบ 56-1 เช่น ยังขาดข้อมูล ความเห็นของ BOARD หรือ AC เกี่ยวกับความจำเป็นและความสมเหตุสมผลของการทำรายการ แนวโน้มการทำรายการระหว่างกันในอนาคต 18

บริษัทที่เกี่ยวข้องกันโดยมีผู้บริหารร่วมกัน รายการระหว่างกัน : เปิดเผยลักษณะของรายการไม่ชัดเจน โดยระบุเพียงว่าเป็น “รายได้” และ “ค่าใช้จ่าย” ตัวอย่างการเปิดเผยที่ไม่ดี รายการระหว่างกัน บจ. AAA บจ. BBB รายได้และค่าใช้จ่าย : (ล้านบาท) มูลค่าการขายสินค้า 14.00 25.00 มูลค่าการซื้อสินค้า 70..50 50.00 มูลค่าของค่าเช่าสำนักงาน - ลักษณะความสัมพันธ์ของบริษัท บริษัทที่เกี่ยวข้องกันโดยมีผู้บริหารร่วมกัน บริษัทที่เกี่ยวข้องกันโดยมีผู้ถือหุ้นและผู้บริหารร่วมกัน (1) เปิดเผยรายการระหว่างกันกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้งในปีที่ผ่านมา - ไม่มี -   (2) อธิบายความจำเป็นและความสมเหตุสมผลของรายการดังกล่าวว่าเป็นไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท (3) อธิบายมาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทำรายการระหว่างกัน (4) อธิบายนโยบายหรือแนวโน้มการทำรายการระหว่างกันในอนาคต - ไม่มี – อนึ่ง รายการระหว่างกันส่วนใหญ่บริษัทฯ ได้เปิดเผยรายการระหว่างกันตามหมายเหตุงบการเงิน 19

รายการระหว่างกัน : ระบุความสัมพันธ์ไม่ชัดเจน เช่น ระบุว่าเป็นบุคคลเกี่ยวโยงเท่านั้น ตัวอย่างการเปิดเผยที่ดี 20

รายการระหว่างกัน : ระบุความสัมพันธ์ไม่ชัดเจน เช่น ระบุว่าเป็นบุคคลเกี่ยวโยงเท่านั้น ตัวอย่างการเปิดเผยที่ไม่ดี 21

รายการระหว่างกัน : ระบุความสัมพันธ์ไม่ชัดเจน เช่น ระบุว่าเป็นบุคคลเกี่ยวโยงเท่านั้น ตัวอย่างการเปิดเผยที่ไม่ดี 22

ความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) CSR in-process Anti-corruption CSR in process บริษัทดำเนินธุรกิจปกติด้วยความรับผิดชอบ ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแรงผลักดัน ให้ภาคเอกชนอื่นดำเนินการด้วย Anti-corruption in practice เป็นบริษัทต้นแบบที่มีแนวปฏิบัติอย่างจริงจังสร้างวัฒนธรรมการไม่คอร์รัปชันให้ภาคธุรกิจไทย เป้าหมาย : 60% ของ บจ. มี SD ที่อยู่ในแผนกลยุทธ์ เป็นส่วนสำคัญของธุรกิจ (integrated) เป้าหมาย : ภายในปี 2561 60% บจ. ทั้งหมด ได้ CAC

เรื่องที่นำมาเปิดเผยในแบบ 56-1 CSR CSR in process อยู่ในกระบวนการทำงานหลัก ของกิจการ CSR after process โครงการ / กิจการเพื่อสังคม / การบริจาค Anti-corruption : แยกเปิดเผยเป็นหัวข้อย่อย ต่างหากจาก CSR

การเปิดเผยข้อมูล CSR ในแบบ 56-1 วัตถุประสงค์ เน้นการดำเนินกิจการด้วยความรับผิดชอบ (CSR-in process) แนวปฏิบัติ ข้อมูลที่ให้เปิดเผย CSR ตามหลัก 8 ข้อ เรื่องที่จะดำเนินการ ถ้าเพิ่งเริ่ม อาจเปิดเท่าที่ทำอยู่แล้ว ถ้าพร้อม เลือกเรื่องที่สำคัญต่อ บจ. & stakeholders และกำหนดเป็นกลยุทธ์ + แผนการดำเนินงาน โดยมีตัวชี้วัด และรายงานผลตามเล่มม่วง / GRI วิธีการรายงาน เป็นหัวข้อใน 56-1 แยกเล่ม และอ้างอิง เป็น integrated report รวมเนื้อหากับ annual report วิธีเขียนการดำเนินการ เรียงตามหลัก แต่ละข้อ เรียงตามกระบวนการดำเนินธุรกิจ 1. นโยบายภาพรวม 2. การดำเนินงาน 2.1 การทำรายงาน (เช่น อ้างอิง GRI) 2.2 การดำเนินการให้เป็นไปตาม นโยบาย 3. หากการดำเนินธุรกิจมีปัญหาเกี่ยวกับ CSR ต้องอธิบาย โดยเฉพาะกรณี 3.1 ถูกพิจารณา/อยู่ระหว่างตรวจสอบ จากหน่วยงานรัฐว่า ฝ่าฝืนกฎหมาย 3.2 มีข่าวต่อสาธารณชน/ถูกกล่าวหา ว่าสร้างผลกระทบต่อสังคมและ สิ่งแวดล้อม ซึ่งกระทบการดำเนินงานอย่างมีนัยสำคัญ 4. กิจกรรม CSR-after-process ตามที่ ประสงค์จะเปิดเผย

การนำข้อมูล CSR in-process ไปเปิดเผยในแบบ 56-1 ข้อมูลที่ให้เปิดเผย รายละเอียดที่นำมาเปิดเผย

รายละเอียด CSR in-process ที่นำมาเปิดเผย Trends & Issues ซึ่งรวมประเด็นการเปลี่ยนแปลงด้าน สังคม สิ่งแวดล้อม วิเคราะห์ stakeholders วางแผนกลยุทธ์ ดำเนินงาน Structure, Process, People, Infrastructure จัดทำรายงาน เลือกเรื่องสำคัญ มากำหนดแผน เช่น พัฒนาผลิตภัณฑ์ กระบวนการผลิต ฯลฯ มีหลายมาตรฐาน ที่ใช้กันมาก คือ GRI, Integrated Report โดยควรเชื่อมโยงกลยุทธ์ กับ ESG และมีตัวชี้วัด เลือกระดับที่ต้องการพัฒนา compliance, do it better, differentiate และกำหนด ตัวชี้วัดในแต่ละเรื่อง CSR in-process: คำนึงถึงความเป็นธรรม และผลกระทบในด้านต่างๆ

CSR Content index form ขอความร่วมมือ บจ. นำส่ง Content index form เมื่อส่งแบบ 56-1 ที่ sd@sec.or.th

ข้อสังเกตในการเปิดเผยเรื่อง CSR ในปีที่ผ่านมา การกรอกข้อมูลใน Content index form - เพิ่งเริ่มดำเนินการ / ดำเนินการมาบ้างแล้ว / ยังไม่เปิดเผยข้อมูล public / ไม่ได้นำมาเปิดเผย - มีการดำเนินการแล้ว เปิดเผยในแหล่งอื่น แต่ไม่ระบุแหล่งเปิดเผย ในแบบ 56-1 การประเมิน CSR progress indicator ปัญหาในการสื่อสารในองค์กร * ไม่ส่ง content index form 329 บริษัท (55.48%) / ขอปรับปรุง 38 บริษัท * ชี้ข้อมูลใน content index form ไม่ครบถ้วน รวมทั้งผู้กรอก form ไม่ใช่ฝ่ายงานรับผิดชอบเรื่อง CSR / SD - ข้อมูลไม่เปิดเผย public มีการดำเนินการ แต่ข้อมูลไม่เปิดเผย บจ. บางส่วนยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่อง CSR in process

ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล CSR in-process การวิเคราะห์ ผู้มีส่วนได้เสีย การวาง กลยุทธ์การดำเนินงาน การดำเนินงาน การจัดทำรายงาน ตัวอย่างผู้มีส่วนได้เสีย - พนักงาน ตัวอย่าง การวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้เสีย ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล : ธนาคารกสิกรไทย

ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล CSR in-process การวิเคราะห์ ผู้มีส่วนได้เสีย การวาง กลยุทธ์การดำเนินงาน การดำเนินงาน การจัดทำรายงาน ตัวอย่าง การคัดเลือกผู้มีส่วน ได้เสีย รวมถึงประเด็นและแง่มุมการดำเนินงานที่มีนัยสำคัญ ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล : ธนาคารกสิกรไทย

ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล CSR in-process การวิเคราะห์ ผู้มีส่วนได้เสีย การวาง กลยุทธ์การดำเนินงาน การดำเนินงาน การจัดทำรายงาน นโยบายการดำเนินการของบริษัทด้าน CSR ตัวอย่าง นโยบายการดำเนินการด้าน CSR ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล : ธนาคารกสิกรไทย

ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล CSR in-process การวิเคราะห์ ผู้มีส่วนได้เสีย การวาง กลยุทธ์การดำเนินงาน การดำเนินงาน การจัดทำรายงาน ตัวอย่าง การดำเนินงานให้เป็นไปตามนโยบายของบริษัท ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล : ธนาคารกสิกรไทย

ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล CSR in-process การวิเคราะห์ ผู้มีส่วนได้เสีย การวาง กลยุทธ์การดำเนินงาน การดำเนินงาน การจัดทำรายงาน ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล : ธนาคารกสิกรไทย

ไม่มีนโยบาย /ไม่เปิดเผย การเปิดเผยข้อมูลการป้องกันการมีส่วนเกี่ยวข้องกับคอร์รัปชันในแบบ 56-1 : ควรแยกเป็นหัวข้อต่างหากจาก CSR มีนโยบาย ไม่มีนโยบาย /ไม่เปิดเผย นโยบายการไม่มีส่วนในการเรียก รับ ให้สินบน หรือมีส่วนร่วมกับการคอร์ร้ปชั่น ถ้าร่วม CAC / เครือข่ายต่อต้านคอร์รัปชั่น ระบุไว้ด้วย 2. การดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย ประเมินความเสี่ยงของธุรกิจ กำหนดแนวปฏิบัติเพื่อควบคุมป้องกันและ ติดตามความเสี่ยงจากการคอร์รัปชัน สื่อสารและฝึกอบรมพนักงาน ติดตามประเมินผลการปฏิบัติ ให้ AC/ผู้สอบบัญชีสอบภายนอกสอบทาน ความครบถ้วนเพียงพอของกระบวนการ ดูแบบประเมิน หรืออ้างถึงการเข้าร่วมโครงการ CAC ก็ได้ ควรเสนอให้ คกก. รับทราบว่า คกก. มีหน้าที่ ดูแลให้ บ.ปฏิบัติตาม กม. “กฎหมาย” รวมถึงกฎหมายเกี่ยวกับการ ห้ามจ่ายสินบน หรือสนับสนุนการ คอร์รัปชัน “ดูแลให้ บ. ปฏิบัติ” ดูแลให้บริษัทมี ระบบทำนองข้อ 2. ควรเสนอให้ คกก. ทบทวนความเหมาะสม ทุกปี มาตรการอื่น ผลักดันให้ผู้ลงทุนสถาบัน และ TIA ติดตาม ขอความร่วมมือให้ บล. เปิดเผย progress indicator ของ บจ. แต่ละแห่งในงานวิจัย ชักชวนกองทุนต่าง ๆ ให้ไม่ลงทุนใน บจ. ที่มี progress indicator ระดับ “0” โดยเริ่มตั้งแต่ ม.ค. 2558 เปิดเผยชื่อกองทุนที่ลงทุนใน บจ. ที่มี progress indicator ระดับ “0”

Anti-corruption Content index form ขอความร่วมมือ บจ. นำส่ง Content index form เมื่อส่งแบบ 56-1 ที่ sd@sec.or.th

ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล Anti-corruption 2. การดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย ตัวอย่าง นโยบายของคณะกรรมการเกี่ยวกับเรื่อง Anti-corruption ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล : ธนาคารกสิกรไทย

ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล Anti-corruption 2. การดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย ตัวอย่าง การกำหนดแนวปฏิบัติเพื่อควบคุมป้องกันและติดตามความเสี่ยงด้าน corruption ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล : ธนาคารกสิกรไทย

ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล Anti-corruption 2. การดำเนินการให้เป็นไปตามนโยบาย ตัวอย่าง การสื่อสารและการฝึกอบรมพนักงาน ตัวอย่างการเปิดเผยข้อมูล : ธนาคารกสิกรไทย

MD&A : What ? & Why ? MD&A : การอธิบายเชิงวิเคราะห์ในมุมมองของฝ่ายจัดการระดับสูง ในเรื่องดังนี้ (1) ฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของบริษัท (“ฐานะการเงินฯ”) ที่มีนัยสำคัญ ในปีที่ผ่านมา และ (2) ปัจจัย/สาเหตุ/เหตุการณ์ที่มีผลกระทบหรือมีแนวโน้ม ที่จะมีผลกระทบต่อฐานะการเงินฯ อย่างมีนัยสำคัญ วัตถุประสงค์ของการเปิดเผยข้อมูล MD&A : (1) ผู้ลงทุนสามารถรู้และเข้าใจสาเหตุและปัจจัยที่มีผลกระทบ ต่อฐานะการเงินฯ เพื่อ การวิเคราะห์ความเหมาะสมในการลงทุนทั้งผู้ลงทุนเดิม/ ใหม่ ประเมินความคุ้มค่าของผลตอบแทน  คาดการณ์ผลตอบแทนในอนาคต  ติดตาม/ตรวจสอบการบริหารงานของฝ่ายจัดการว่า เป็นไปตาม เป้าหมาย / อยู่ในระดับที่พึงพอใจหรือไม่ อย่างไร (2) แสดงถึงการมี Good Corporate Governance ของ บจ. 40

MD&A : แนวทางการเปิดเผย TIPs : NO. 1 การเขียนให้อธิบายเชิงวิเคราะห์ Don’t เขียนตัวเลขรายการในงบการเงิน โดยไม่อธิบายและ วิเคราะห์ เช่น รายได้ปี 2556 มีมูลค่า XX ลบ. รายได้ปี 2556 มีมูลค่า XX ลบ. ปี 2555 มีมูลค่า XX ลบ. รายได้ปี 2556 มีมูลค่า XX ลบ. เพิ่มขึ้น X% จากปี 2555 Do รายได้จาก...ปี 2556 มีมูลค่า XX ลบ. เพิ่มขึ้น X% มีสาเหตุจาก... (วิเคราะห์สาเหตุแยกราคาขายและปริมาณการขาย แยกประเภทผลิตภัณฑ์ / ธุรกิจ / segment / SBU) 41

MD&A : แนวทางการเปิดเผย NO. 2 ใช้ตัวเลข กราฟ หรือตาราง ประกอบการอธิบายเชิงวิเคราะห์ เพื่อให้ชัดเจน เข้าใจง่าย Don’t อธิบายตัวเลข (quantitative) แต่ไม่อธิบายและ วิเคราะห์สาเหตุฯ Do ใช้เป็นข้อมูลประกอบการอธิบายเท่านั้น NO. 3 อธิบายเชิงวิเคราะห์ให้ชัดเจน (ถึงเหตุผลและสาเหตุที่มี ผลกระทบต่อฐานะการเงินฯ) ด้วยรูปแบบที่เข้าใจง่าย เหมาะสม NO. 4. ใช้ภาษาเข้าใจง่าย Don’t ใช้ภาษาเทคนิค / ศัพท์เฉพาะทางบัญชี โดยไม่จำเป็น 42

MD&A : แนวทางการเปิดเผย NO. 5 จัดทำงบการเงินเปรียบเทียบ 3 ปี ย้อนหลัง เพื่อใช้ประกอบการอธิบายเชิงวิเคราะห์ (งบแสดงฐานะการเงิน /งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ / งบกระแสเงินสด รวมทั้ง ratio ที่สำคัญ) NO. 6 อธิบายและวิเคราะห์เชิง qualitative Do - ระบุปัจจัย/เหตุผลที่เกี่ยวข้อง ไม่ใช่ปัจจัยกว้างๆ / ปัจจัยทั่วไปที่ไม่เกี่ยวข้อง - อธิบายเชิงวิเคราะห์ทั้งแง่ positive และ negative 43

MD&A : แนวทางการเปิดเผย NO. 7 อธิบายเชิงวิเคราะห์ ข้อมูลดังนี้  รายการในงบการเงินที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญ  แยกประเภทรายได้ / สายผลิตภัณฑ์ / SBU เป็นต้น  ข้อมูลการเงินปีที่ผ่านมา วิเคราะห์เปรียบเทียบกับ  ข้อมูลอดีต (ปีก่อนหน้า) / คู่แข่งขัน / บริษัทใน อุตสาหกรรมเดียวกัน  Key Performance Indicators (KPIs) เทียบกับ อุตสาหกรรม  ใช้ ratio ประกอบการอธิบายเชิงวิเคราะห์ด้วย 44

MD&A : แนวทางการเปิดเผย NO. 7 อธิบายเชิงวิเคราะห์ ข้อมูลดังนี้ (ต่อ)  Trends และปัจจัย ที่มีแนวโน้มกระทบฐานะการเงินฯ ในอนาคต  แผน/เป้าหมาย และผลการดำเนินการตามแผน/เป้าหมาย ที่เปิดเผยในปีก่อนหน้า  แผนการลงทุน พร้อมกับวิเคราะห์แหล่งเงินทุนที่จะใช้ ผลกระทบต่อสภาพคล่อง / ข้อจำกัดการกู้ยืมที่มีอยู่ / Covenant  มีรายการได้มา/จำหน่ายไปซึ่งสินทรัพย์สำคัญ ระหว่างปี หรือเกิดขึ้นหลังวันที่ในงบการเงินซึ่งได้เปิดเผยแล้ว (เช่น ผ่านข่าว SET หรือสื่ออื่น)  ภาระผูกพัน และรายการพิเศษ (ถ้ามี)  หากมีการ breach of Covenant ควรอธิบายมาตรการ แก้ไขด้วย 45

MD&A : แนวทางการเปิดเผย NO. 7 อธิบายเชิงวิเคราะห์ ข้อมูลดังนี้ (ต่อ)  Update ความคืบหน้าของ แผนการดำเนินงาน หรือประมาณการงบการเงินที่เคยเปิดเผยไว้ในแบบ filing หรือแบบ 56-1 ปีก่อน  หากบริษัทเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับแนวโน้มหรือประมาณการ ผลการดำเนินงานในเชิงตัวเลขต่อนักวิเคราะห์ / ผู้ลงทุน ต้องแสดงในแบบ 56-1 ด้วย 46

Bank of America ถูกปรับในส่วน MD&A