15-16 ตุลาคม 2557 รพ.เทพรัตน์ จังหวัดนครราชสีมา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

ชุมชนน้ำด้วน 1 ร่วมใจ สร้างความปลอดภัยทางถนน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
รายงานการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่ง โรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2551
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2553
โครงการ “การวางแผนจัดการแบบมีส่วนร่วมเพื่อความมั่นคงด้านน้ำในพื้นที่ จังหวัดสมุทรสงครามโดยใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์บนเว็บ” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การบริหารจัดการด้านอุบัติภัยสารเคมี
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
เน้นเป้าหมายที่คนมากกว่ายุง
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
การสอบสวนโรคมือเท้าปากระบาดให้ได้คุณภาพ
ทะเบียนรับแจ้งข่าวการระบาด
ประชุมwar room ครั้งที่ 3/2554
การเฝ้าระวังเหตุการณ์ในชุมชน
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
อุทัยวรรณ สกลวสันต์ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลน่าน
นโยบายอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี ๒๕๕๔
คุณลักษณะที่ ๒ มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ
การดำเนินงานป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2552
“การสนับสนุนเครือข่ายให้มีการพัฒนาการดำเนินงานอำเภอควบคุมโรค เข้มแข็งแบบยั่งยืน กรมควบคุมโรค ปี 2555” โดย ดร.นายแพทย์อนุพงค์ สุจริยากุล ผู้อำนวยการสำนักงานควบคุมป้องกันโรค.
อำเภอ ป้องกันควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน นพ.พงศ์ธร ชาติพิทักษ์
งานควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
หัวข้อวิชา “งานศูนย์ปฏิบัติการสถานีตำรวจ”
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและ โอกาส พัฒนาในโครงการพัฒนา คุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ ผู้ป่วยเอดส์ในภาพรวมของเขต สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 4 จ. ราชบุรี
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
การนำข้อมูลอุบัติเหตุ สู่ Action
จังหวัดนครปฐม.
ระดับเขต : สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดราชบุรี
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
ไข้เลือดออก.
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะฝ่ายเลขานุการ
รายงานสถานการณ์การบาดเจ็บและเสียชีวิตในช่วงเทศกาลสงกรานต์ 2552
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
กลุ่มที่ 3 การทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กรมฯอบรมการสร้างวิทยากรระดับจังหวัด
ส.ทล.6 กก.1 บก.ทล. ไม่มีผลการฝึกอบรมเนื่องจากน้ำท่วมพื้นที่
นโยบายการดำเนินงาน “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ปีงบประมาณ 2556
หลักการและเหตุผล หน่วยงานภาครัฐ/ เอกชน ต่างคนต่างทำงานไม่ได้เชื่อมประสานการทำงานเป็นเครือข่าย โรคและภัยสุขภาพเกิดขึ้นในทุกพื้นเพียงแต่แตกต่างกันในรายละเอียด.
บทบาท...พยาบาล ห้องฉุกเฉิน
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
แผนปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ 2556 กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
โครงการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้แบบมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
สรุปข้อมูลสถิติอุบัติเหตุ บนทางหลวงชนบท ช่วงเทศกาลปีใหม่ 2557 (ระหว่างวันที่ 27 ธันวาคม 2556 – 2 มกราคม 2557 ) “ปีใหม่สัญจรปลอดภัย ร่วมใจลดอุบัติเหตุ”
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
การวิเคราะห์ข้อมูลสถานการณ์ ปี 2556 จังหวัดภูเก็ต
RSIS นครศรีธรรมราช 8-9 กรกฎาคม 2557 ศาลากลางจังหวัดนครศรีธรรมราช.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ศูนย์อำนวยการจราจร และลดอุบัติเหตุทางถนน ตำรวจภูธรจังหวัดบุรีรัมย์
15-16 กรกฎาคม 2557 โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น
13-14 ตุลาคม 2557 รพ.ถลาง จังหวัดภูเก็ต
การดำเนินงานระบาดวิทยาปี 2558
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปอุบัติเหตุทางถนน ช่วงเทศกาลสงกรานต์ ปี 2550
โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรมหมวกนิรภัยให้แสงสว่าง
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
สถานการณ์โรคติดต่อ อำเภอกำแพงแสน
ระบบสารสนเทศการเฝ้าระวังการบาดเจ็บInjury Surveillance Information System (ISIS) เครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูลระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บ เพื่อการป้องกันควบคุมการบาดเจ็บบนถนน.
การเตรียมความพร้อมของหน่วยกู้ชีพใน เทศกาลปีใหม่ ปี ๒๕๕๔ ระหว่างวันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ ถึง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๔ หน่วยกู้ชีพ FR และ BLS – ตรวจเช็คสภาพรถยนต์ให้พร้อมออกปฏิบัติงาน.
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

15-16 ตุลาคม 2557 รพ.เทพรัตน์ จังหวัดนครราชสีมา RSIS นครราชสีมา 15-16 ตุลาคม 2557 รพ.เทพรัตน์ จังหวัดนครราชสีมา

การใช้ข้อมูลเพื่อถนนปลอดภัย จัดการข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ใช้ประโยชน์ข้อมูล

การจัดการข้อมูล เครื่องมือ Tool kit: เครื่องมือเชื่อมโยงฐานข้อมูล: “RTIIS”

ข้อมูลอ้างอิงของจังหวัดโคราชในปัจจุบัน เก็บข้อมูล: ตำรวจ กรอกข้อมูล: ตำรวจ (ใน eReport ของปภ.) ป้อนข้อมูล: ปภ. (ใน eReport ของปภ.) วิเคราะห์: ปภ.

เทศกาล “คนก่อเหตุคนนอก คนเสียชีวิตคนใน” ??? จำนวนคนตายเฉลี่ย: นอกเทศกาล 2.1/วัน ในเทศกาล 2.6/วัน = เพิ่มขึ้นเกือบ 1 ใน 4

เด็ก เหตุการณ์ที่ลูกผ.อ.รพช. 2 ราย (อายุ 1 และ 3 ปี) เสียชีวิตจากรถคว่ำ มาตรการรณรงค์ในองค์กร: รถของสสจ.ต้องถ่ายรูปคาดเข็มขัด post ก่อนออกรถ การจัดหา car seat สำหรับเด็ก: มือ 2 (อายุการใช้งาน)

การสอบสวน/สืบสวนอุบัติเหตุ อุบัติเหตุใหญ่ 1-2 เหตุการณ์ต่อเดือน โดยทีมสหสาขา: สธ. (หมอเอนก+SRRT) กู้ภัย ตร. แขวงการทาง การถ่ายภาพจุดเกิดเหตุ ภาพแรกโดยกู้ภัย การอบรมการถ่ายภาพอุบัติเหตุ/การสื่อสาร โดยสพฉ. และ สอจร.

วงประชุมเรื่องความปลอดภัยทางถนนโคราช 3 วง ใหญ่-กลาง-เล็ก ป.ความมั่นคง จ.: มีวาระความปลอดภัยทางถนน เริ่มมีเรื่องการสอบสวน (สหสาขา) ศูนย์ความปลอดภัยทางถนน จ.: ช่วง 2 เทศกาล สอจร. กินข้าวเล่าเรื่อง วงเฉพาะ ตร. ครู: หลักสูตรความปลอดภัยทางถนนในรร. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

โจทย์ของโคราช ต.ค.-ธ.ค. 55 บาดเจ็บ เสียชีวิต สถานที่: เขตเมือง/ชนบท อำเภอ ถนน X เวลา: เทศกาล คนใน-นอกพื้นที่ 102 15 ปัจจัยเสี่ยง: เมา เข็มขัด หมวก X สิทธิ X แบบแผนการชน: สืบสวนอบถ. RAI eClaim?

แหล่งข้อมูล ต.ค.-ธ.ค. 55 eClaim 55 56 (เม.ย.) IS* 54 55 56 มรณบัตร 54 55 ? 43 แฟ้ม (Accident etc) ? eReport 56 - POLIS ITEMS* 19 สาเหตุ* (ข้อมูลจำนวนนับ Aggregate data) ตกลง STAER อะไร = DBA กะ ตายที่ ER STAWARD อะไร = ตายที่ Ward

ข้อมูลการตาย IS: eClaim มรณบัตร ตัวแปร สาเหตุการบาดเจ็บ (cause) อุบัติเหตุทางถนน = 1 ตัวแปร สถานะของผู้บาดเจ็บตอนออกจากห้องฉุกเฉิน (STAER) ตายก่อนถึงรพ. DBA.) = 1 ตายที่ ER = 6 ตัวแปร สถานะของผู้บาดเจ็บตอนออกจากรพ. (STAWARD) ตายที่ตึกผู้ป่วยใน Ward = 5 eClaim ตัวแปร รายละเอียดการบาดเจ็บ (DetailBroken) มีคำว่า “เสียชีวิต” หรือ “ตาย” ระบุอยู่ที่ใดที่หนึ่งในรายละเอียดของตัวแปรนี้ (ต้อง sort และ search หา) มรณบัตร มีข้อมูลในฐานข้อมูลมรณบัตร สาเหตุการตายเป็นรหัสกลุ่มอุบัติเหตุทางถนน

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จ.โคราช ต.ค.-ธ.ค. 55 บาดเจ็บ 4,902 บาดเจ็บไม่เสียชีวิต 4,652 เสียชีวิต 250 (มรณบัตร 196 บ.กลาง 30 IS 120) สถานที่: อำเภอเมือง (อันดับ 1) 36 ราย จาก 128 ที่มีข้อมูลจาก IS ถนน: ต้องเพิ่มการกรอกข้อมูล และเอาข้อมูลพิกัดจากหลายแหล่งมาดูด้วยกัน คนในพื้นที่ 103 คนนอกพื้นที่ 15 ไม่ทราบ 3 ไม่ระบุ 129 หน่วยงาน (โรงงาน โรงเรียน): ต้องเพิ่มการกรอกข้อมูลใน IS ปัจจัยเสี่ยง: เมา เข็มขัด หมวก: จ.ลองวิเคราะห์เองต่อ

What’s next? ทบทวนคณะทำงานข้อมูลอุบัติเหตุทางถนนจังหวัด (ปภ.) หน่วยงาน เจ้าหน้าที่ บทบาทหน้าที่ แหล่งข้อมูล ชุดข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูล (สธ. (IS จากรพ.มหาราช) บ.กลาง (รอจากส่วนกลาง) ตร. (รอจากส่วนกลาง+ประสานในพื้นที่) ประสานในพื้นที่ ปภ. (eReport ในพื้นที่)+- มรณบัตร (รอจากส่วนกลาง+ประสานในพื้นที่) ทุกวันที่ 15 ของเดือนถัดไป วิเคราะห์ข้อมูล (สคร.) ทุกวันที่ 25 ของเดือนถัดไป นำเสนอในวง วงความมั่นคง จ. และวงศูนย์ความปลอดภัยทางถนน จ.ทุกเดือน (ปภ.) เวทีของแต่ละหน่วยงาน (ตร. สคร. สสจ.) ตามวาระ