อนาคตระบบบริการสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานข้อมูล และ เทคโลโลยีสารสนเทศกลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์
Advertisements

Service Plan สาขา NCD.
ความก้าวหน้าของการพัฒนา Database
ข้อมูลสุขภาพ 21,43 แฟ้ม: การจัดการเพื่อใช้ประโยชน์
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล คุณภาพคือคำตอบสุดท้าย
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
สถานการณ์ภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 7 จังหวัดภาคใต้
กลวิธี 3. มาตรการทางกฎหมายเพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ผลและแผนการดำเนินงานอนามัยการเจริญพันธุ์
สถานการณ์และการดำเนินงานโรคคอตีบจังหวัดยโสธร 12 พฤศจิกายน 2555
สถานการณ์ไข้เลือดออก จังหวัดสุรินทร์
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ1-19 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 1 มกราคม - 10 พฤศจิกายน 2550 ต่อแสนประชากร ที่มา : สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด.
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.
นโยบาย และแนวทางการแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ระดับประเทศและภูมิภาค
อัตราป่วยไข้เลือดออกในประเทศไทยจำแนกตามรายเขตตรวจราชการ 1-18 ข้อมูลสะสมตั้งแต่ 3 มกราคม 2553–26 มิถุนายน 2553 สัปดาห์ที่ 25 ปี 2553 ต่อแสนประชากร ที่มา.
ร้อยละความทันเวลา การจัดส่งข้อมูล 43 แฟ้ม แยกรายอำเภอ (เดือน ตุลาคม 2556 – มีนาคม 2557) เกณฑ์>90%
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
แนวทางการดำเนินงาน และ แผนการดำเนินงาน
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
แนวทางการประชุมกลุ่ม
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
ไข้เลือดออก.
หกมิติความไม่เท่าเทียมระหว่างหญิงชาย หนทางเพื่อพัฒนาสู่ความเสมอภาค
นพ.สมจิตร ศรีศุภร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดนครปฐม
สถานการณ์โรคที่ต้องเฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม 2551 Darunee Phosri :30551.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ประชุมคณะกรรมการ ประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ปีงบประมาณ 2557 วันที่ 15 ตุลาคม 2556 เวลา น. ณ ห้องประชุมทองกวาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
นโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ กลุ่มผู้สูงอายุ
โครงการหมู่บ้าน / ชุมชน ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วน ลดโรค
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่นราชนครินทร์
สุธาทิพย์ รุ่งเรืองอนันต์ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม
การพัฒนาศักยภาพบุลากร ด้านการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย วันที่ กันยายน 2552 ณ ห้องประชุมคณาพันธ์ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอำนาจเจริญ.
แนวทางการจัดทำแผนพัฒนาเขตสุขภาพ
การตรวจประเมินรับรอง รอบ 2 มาตรฐานงานสุขศึกษา
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
ประจำเดือนมกราคม 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
เป้าหมายการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัด ปี 2547 ตัวชี้วัดผลการ ดำเนินงาน ผู้รับผิดชอบ หลัก 8. ระดับ ความสำเร็จของ การจัดทำ ทะเบียนเพื่อ แก้ไขปัญหา.
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
สรุปผลงานข้อมูลคุณภาพ
ผลการดำเนินงานของคณะทำงานกลุ่มสตรีและเด็ก(0-5ปี) (โครงการแก้ไขปัญหากลุ่มวัยสตรีและเด็ก และโครงการ 7 จังหวัดร่วมใจ เร่งรัดงาน EPI ครบตามเกณฑ์ ) นำเสนอโดย.
LOGO รายงาน ความก้าวหน้า การส่ง / นำเข้าข้อมูล 21 / 43 แฟ้ม.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพนครชัยบุรินทร์ ประจำปี 2558
พิเชษฐ์ ไชยวงค์ สาธารณสุขอำเภอหนองหิน. ที่มา..... นโยบายที่เริ่มดำเนินการ ตั้งแต่ปี ปัจจุบัน เตรียมคน / สถานที่ / ประสานทีม แพทย์ / เภสัช / Lab.
สป.สธ. เลือกจากแผนส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย เขตบริการสุขภาพที่ 7
การดำเนินงานสุขภาพจิตเครือข่าย ในเขตสุขภาพที่10 ปีงบประมาณ 2558
การพัฒนาสาขาสุขภาพช่องปาก เขตบริการสุขภาพที่ 11
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ
แนวทางการจัดสรร งบค่าบริการแพทย์แผนไทย ปีงบประมาณ 2558
การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มเด็กวัยเรียน
บ้านเลขที่ 11/7 Family Model สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
โดย นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา
งานยาเสพติด.
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพตามกลุ่มวัย เด็กวัยเรียน 5-14 ปี
สถานการณ์การดำเนินงานปี 2557 และ ทิศทางการดำเนินงานปี 2558
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
โครงการนำร่องการลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด
จำนวน อัตราป่วย / ตาย ด้วยโรคที่เฝ้าระวัง ทางระบาดวิทยา 10 อันดับ จังหวัดสิงห์บุรี ( มิ. ย.2550)
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
โปรแกรมเฝ้าระวัง การเจริญเติบโตของเด็กอายุ 0-18 ปี
วันรับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติประจำปี 2553 ณ หอประชุมเจ้าพระยา กองทัพเรือ กรุงเทพฯ วันที่ 24 มิถุนายน 2553.
อัตราตายต่อประชากรแสนคนด้วยโรคไม่ติดต่อที่สำคัญ ปี พ.ศ
เกณฑ์การประกวดอำเภอดีเด่น ด้านการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
ขับเคลื่อนงานด้านโรคไม่ติดต่อ และการบาดเจ็บ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อนาคตระบบบริการสุขภาพ นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์(ทรงคุณวุฒิ)

ความเป็นจริงในปัจจุบัน และสิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ผู้ป่วยรายใหม่ โรคเรื้อรังไม่ติดต่อเพิ่มขึ้น แนวโน้มการตายโรคสำคัญไม่ลด โรคที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม ปัญหาสังคมรุ่นแรงขึ้น มีโรคเก่าแต่กลับใหม่เป็นระยะๆ มีโรคใหม่ๆอย่างต่อเนื่อง ผู้คนอายุยืนขึ้น

ร้อยละของภาวะอ้วนในเด็กวัยเรียนแยกตามรายเขตสุขภาพ และจังหวัดที่มีภาวะอ้วนสูงสุด ปี 2557 ภาคเรียนที่ 2 (ต.ค.-ธ.ค.56) ร้อยละ สิงห์บุรี สุราษฎร์ธานี สมุทรปราการ สุโขทัย/อุตรดิตถ์ ชัยนาท นครปฐม ลำพูน พัทลุง ขอนแก่น ศรีษะเกษ ที่มา : ฐานข้อมูล 21/43 แฟ้ม สนย. รายงาน ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2557

50 (ที่มา : Med Res Net 2556)

ร้อยละผู้ป่วย DM ที่สามารถคุมน้ำตาลได้ (เกณฑ์ HbA1C <7%) (ที่มา : Med Res Net 2556)

เป้าหมายระดับประเทศไม่เกิน 23 ต่อแสน อัตราตายอย่างหยาบรวมทุกกลุ่มอายุด้วยโรคหลอดเลือดหัวใจเมื่อเทียบกับค่าของประเทศ (ไม่เกิน 23 ต่อแสน) พบว่าในปี 56 เขต 7,8,9,10 หรือพื้นที่ภาคอิสานจะมีอัตราตายต่ำกว่าเป้าหมายระดับประเทศ ส่วนเขต 3,4,5,6,11 และกรุงเทพซึ่งเป็นพื้นที่ตอนกลางและชายฝั่งอันดามันจะมีอัตราตายสูงกว่าเป้าหมายระดับประเทศ

อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ปี พ.ศ. 2545-2556 (ฐาน สนย.) เกณฑ์ไม่เกิน 23 ต่อ ปชก.แสนคน อัตราตายปี 56 ที่สูงกว่าเกณฑ์ สูงกว่าระดับเขต และประเทศ มี 3 จังหวัด อันดับ 1 อุตรดิตถ์ (32.96) (อันดับ 15 ของประเทศ) อันดับ 2 พิษณุโลก (28.41) อันดับ 3 ตาก (23.81)

ตัวชี้วัด: อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ไม่เกิน 23 ต่อประชากรแสนคน) (ใช้ Baseline ปี 2555) ข้อมูล สนย. ปี 2555 พบ 4 จังหวัด ที่อัตราตายโรคหลอดเลือดหัวใจสูงเกิน20 ต่อประชากรแสนคน ซึ่งเป็นพื้นที่เสี่ยง ดังนี้ พื้นที่เสี่ยง จำนวน อัตรา อุตรดิตถ์ 186 40.33 พิษณุโลก 257 30.13 ตาก 137 25.92 สุโขทัย 122 20.06 เพชรบูรณ์ 170 17.13 Copyright 2013 © All rights reserved วันที่ 30 ตุลาคม 2556 ณ ห้องประชุมพิษณุธารา สคร. 9 จ.พิษณุโลก

Safe 193 to 280 in 5 Yrs. อัตราตาย 23.26 ใน จ.ยังไม่ผ่านเกณฑ์ < 23

PCI,Open heart ทุกวัน ดำเนินการได้ 3 เดือน +541 in 5 Yrs. PCI,Open heart ทุกวัน ดำเนินการได้ 3 เดือน

ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนของหัวใจและหลอดเลือดของผู้ป่วย DM2 (ข้อมูล จาก Med Res Net : 2556)

ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางไตทั้งหมดของผู้ป่วย DM2 (ข้อมูล จาก Med Res Net : 2556) ร้อยละของการเกิดภาวะแทรกซ้อนทางตาทั้งหมดของผู้ป่วย DM2

อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมอง Stroke (เป้าหมาย ไม่เกิน 190 / แสน ปชก. ) รพ. เพชรบูรณ์ เมือง ชนแดน หล่มสัก วิเชียรบุรี ศรีเทพ หนองไผ่ บึงสามพัน วังโป่ง หล่มเก่า เขาค้อ น้ำหนาว รวม 209 20 75 56 67 53 97 65 15 123 102 89 ผ่านเกณฑ์ ผลการดำเนินงานปี 51-57

อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมอง Stroke (เป้าหมาย ไม่เกิน 190 / แสน ปชก. ) มี รพ.แม่ข่าย สามารถให้บริการ Stroke fast track เพียง 1 แห่ง คือ รพ.พุทธชินราช ( ยังไม่มีเพิ่ม ) จำนวนผู้ป่วย Ischemic stroke เข้าถึงบริการ stroke fast track ร้อยละ 3.49 (ต่ำกว่าเป้าหมายร้อยละ 10) ข้อเสนอแนะ ควรมีการเชื่อมประสานกับแผนการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่และบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการรองรับการจัดบริการด้านการส่งเสริม ป้องกัน โรคหลอดเลือดสมอง ในกลุ่มเสี่ยง สามารถส่งต่อผู้ป่วย และเข้าถึงบริการการรักษาอย่างทันท่วงที ต่อเนื่องอย่างมีคุณภาพ ตลอดจนการติดตามฟื้นฟูสภาพลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน ที่จะนำไปสู่การสูญเสียชีวิต

ผู้ป่วยโรคมะเร็งรายใหม่ วินิจฉัยที่โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก ปีงบประมาณ 2556 ตำแหน่งที่พบ Stage รวม 1 2 3 4 ไม่ทราบ Lung 5 13 49 213 126 406 Breast 23 81 56 28 108 300 Head & Neck 11 21 16 96 107 251 Colon & Rectum 27 68 51 219 Liver 19 129 148 Cervix 45 31 15 134 Thyroid 33 39 Other 25 26 50 88 630 819 Total 116 200 258 513 1,224 2,316

ผู้ป่วยมะเร็งรายใหม่ จังหวัดพิษณุโลก ปี 2557 ตำแหน่งโรค Total. percent อันดับที่ Breast 111 15.12 1 Lung 76 10.35 3 Cervix 44 5.99 6 Colorectal 95 12.94 2 liver and Intrahepatic Bile ducts 75 10.22 4 Head and Neck 63 8.58 5 Thyroid 12 1.63 9 Lymphoma 25 3.41 7 Leukemia 18 2.45 8 Other 215 29.29   734 100 ที่มา : รายงานทะเบียนมะเร็ง รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก ณ 25 มิถุนายน 2557

อัตราการคลอดในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี พ.ศ. 2546-2555 ที่มา : สำนักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย

ร้อยละของการคลอดบุตรโดยมารดาอายุ 15-19 ปี (ไม่เกินร้อยละ 10) ร้อยละของการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี (ไม่เกินร้อยละ 10)

สัดส่วนการตายมารดาแยกตามอำเภอ ปี 51-57 = 26 ราย สาเหตุการตายโดยรวม การฝากครรภ์

อัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบัน ชนิดมีควัน จำแนกตามเขตบริการสุขภาพ ร้อยละ แหล่งข้อมูล: สำนักงานสถิติแห่งชาติ 2554 วิเคราะห์ข้อมูลโดย : กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร สำนักควบคุมการบริโภคยาสูบ

ค่าเฉลี่ยความชุกของนักดื่มแอลกอฮอล์ อายุ 15 ปีขึ้นไป พ.ศ.2554

อัตราตาย 3 ปีย้อนหลังในภาพรวมของประเทศยังคงเพิ่มขึ้น และปี 56 มีอัตรา 22.89 ต่อแสน เขต 4,7,8,9 มีอัตราตายใกล้เคียงหรือต่ำเกว่าเป้าหมายประเทศ ในขณะที่เขตอื่นๆ จะสูงกว่าค่อนข้างมาก จึงควรตั้งเป้าหมายระดับเขตให้ตายลดลง 7% จากค่า 3 yrs median ดังจะแสดงในสไลด์ถัดไป

จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ต. ค. 56- มี. ค จำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ต.ค. 56- มี.ค. 57 แบ่งตามเขตสุขภาพ * ค่าเป้าหมายคำนวณจากการลดจำนวนผู้เสียชีวิตลง ร้อยละ 7 จาก 3-year median (2553-2555) ตามค่าเป้าหมายตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข เมื่อกำหนดเป้าหมายปี 57 ที่ลดลง 7% จากค่ามัธยฐาน 3 ปี แล้วถอดออกมาเป็นจำนวนทั้งปีและในระยะ 6 เดือน ปรากฏว่ามีเพียงเขต 12 ที่จำนวนตายต่ำกว่าเป้าหมายหกเดือน และที่สูงกว่าเป้าหกเดือนค่อนข้างมาก คือ เขต 1,2,6,7,8.9

แหล่งข้อมูล :: ข้อมูลมรณบัตร สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ แหล่งข้อมูล :: ข้อมูลมรณบัตร สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์

เป้าหมาย 5 ประเด็น ลดระยะเวลารอคอย การบริการได้มาตรฐาน ลดอัตราป่วย ลดอัตราตาย ลดค่าใช้จ่าย

ผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มขึ้น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคแทรกซ้อน หลอดเลือดหัวใจ สมอง ไต ตา แขน ขา มะเร็ง ระบบสุขภาพภาคประชาชน ปัจจัยเสี่ยง จนท.สาธารณสุข เทคนิค ใหม่ๆ เทคโนโลยี ช่วยเสริม

แนวโน้มการตายโรคสำคัญไม่ลด หลอดเลือดหัวใจ สมอง ไต มะเร็ง ลดป่วยรายใหม่ อย่าให้รายเก่าเกิดภาวะแทรกซ้อน ดูแลรายเก่าอย่าให้ตาย One Region One Hospital Referral System Region/ Institute

Service Plan 6 Node 11 Track จักษุ แพทย์แผนไทย ฟื้นฟูสภาพ ศัลยกรรม สาขาโรคหัวใจและหลอดเลือด สาขาทารกแรกเกิด เชี่ยวชาญ 5 สาขา แพทย์แผนไทย สาขาโรคมะเร็ง สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช สาขาทันตกรรม ฟื้นฟูสภาพ สาขาอุบัติเหตุ สาขาจักษุและไต สาขาโรคไม่ติดต่อ ศัลยกรรม ทันตกรรม สาขาบริการสุขภาพองค์รวม สาขาบริการเขตเมืองและปฐมภูมิ 5 สาขาหลัก

ผลประเมินตนเอง(รอบที่ 1): ความสำเร็จการดำเนินการตาม Services Plan จังหวัดประเมินตนเอง สุโขทัย ตาก เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ พิษณุโลก สาขา โรคหัวใจ 3 4 สาขาโรคหลอดเลือดสมอง สาขา ทารกแรกเกิด สาขา อุบัติเหตุ สาขา มะเร็ง สาขา ไต 1 สาขา ตา 2 สาขา จิตเวช 5 สาขา ทันตกรรม สาขา ศัลยกรรม สาขา สูติกรรม สาขา อายุรกรรม สาขา เด็ก สาขา NCD

แบบประเมินตนเอง: ความสำเร็จของการดำเนินการตาม Services Plan ความก้าวหน้า องค์ประกอบ ระดับ 1 1. มีการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ สรุป สถานการณ์ 2. มีการประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบบริการ (Service Plan) ระดับ 2 1. ความก้าวระดับ 1 และ 2. กำหนดทิศทางการพัฒนา และความสำเร็จ (ผลผลิต/ผลลัพธ์) ที่ต้องการให้เกิดขึ้น โดยมีการระบุระยะเวลา (ปีงบประมาณ) ที่ความสำเร็จนั้นเกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม ระดับ 3 1. ความก้าวระดับ 2 และ 2. มีและใช้แผนปฏิบัติการ (Action Plan) มีการจัดงบประมาณหรือเงินบำรุงรองรับชัดเจน 3. เริ่มมีการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการแล้ว ระดับ 4 1. ความก้าวระดับ 3 และ 2. มีการดำเนินงานครอบคลุมส่วนใหญ่ของแผนปฏิบัติการ 3. มีความสำเร็จ ระดับผลผลิต ผลลัพธ์ เกิดขึ้นแล้ว ระดับ 5 1. ความก้าวระดับ 4และ 2. มีการดำเนินงานครอบคลุมของแผนปฏิบัติการทุกองค์ประกอบ 3. มีความสำเร็จ จากการเชื่อมโยงการดำเนินงานสู่ District Health System (DHS) ให้เกิดส่งเสริมป้องกันโรค จนแนวโน้มผู้ป่วยรายใหม่ในสาขานี้ลดลงได้

สวัสดี