สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
Advertisements

และจรรยาบรรณของวิชาชีพครู
บทที่ 7 ศาสนา Religion.
ทักษะการทำงานร่วมกันเป็นทีม
สถาบันศาสนา.
กับทิศทางการพัฒนาสังคมไทย
การจัดระเบียบสังคม Social Organization
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
วัฒนธรรมและภูมิปัญญา มยุรฉัตร ผิวอ่อนดี ร.ร. ดงเจนวิทยาคม จ.พะเยา
โรงเรียนนาคนาวาอุปถัมภ์ เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร
โฆษณาปฏิบัติธรรมทั่วประเทศ โดย เสถียรธรรมสถาน
จิตพิสัยบริการ ฐานสู่ความเป็นเลิศ (Service Mind)
ชื่อเรื่อง ไตรสิกขาพัฒนาสุขภาพจิต จัดทำโดย ด. ช
สอนโดย อาจารย์ขวัญตา จั่นอิ๊ด โทร
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
พลเมืองดีตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
ประวัติศาสตร์ศาสนา 7 พ.ย บรรยายโดย อาจารย์สมชัย ศรีนอก.
ความหมาย ลักษณะและความสำคัญของวัฒนธรรม
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
พฤติกรรม เบี่ยงเบนทางเพศ.
เรื่อง อารมณ์ในวัยเด็ก
เรารับใช้ชาติ ด้วยการเป็นทหารเรือ.
Happy 8 8 Boxes of Happiness
มนุษย์จะได้ชื่อว่าเป็นผู้ที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีได้ ก็เพราะการรู้จักเลือกประกอบกิจกรรมนันทนาการ สรุปเนื้อหาสาระจาก นันทนาการและการจัดการ พีระพงศ์ บุญศิริ
จรรยาบรรณวิชาชีพ.
บทบาทของโรงเรียนต่อชุมชน
คุณธรรมและจริยธรรมของครู
สถาบันการศึกษากับสถาบันอื่นๆในสังคม
การจัดการศึกษาในชุมชน
มนุษย์สัมพันธ์ ในการทำงานเป็นทีม
๓ สถาบันทางสังคม (Social Institution)
ธรรมนูญชีวิตที่ดีงาม
ระบบความเชื่อ.
สุขภาพจิต และการปรับตัว
(Individual and Organizational)
หลักสำคัญ 5 ประการ 1.ความรู้สึกปลอดภัย 2.ความรู้สึกสงบ 3.การตระหนักรู้ถึงศักยภาพ 4.การประสานรวมพลังของชุมชน 5.การมีความหวัง.
นักเรียนช่วงชั้นที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ทบทวน หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธศาสนา 1
งานกิจกรรมเพื่อพัฒนานักศึกษา
เกร็ดความรู้ที่เยาวชนไทยควรทราบ
บุคลิกภาพกับการเป็นผู้นำที่มีจิตสำนึก
พลัง อึด ฮึด สู้ อึด...ทนต่อแรงกดดัน วิธีการ : คิดเชิงบวก ควบคุม อารมณ์ ลดความเครียด คลายอารมณ์ ฮึด...มีกำลังใจวิธีการ : self talk , ขอจากคนอื่น , แรงศรัทธา.
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
นางนวธัญย์พร ศรีจันทร์ พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
สมาชิก นายธนากร กุจิรพันธ์ ม. 4/6 เลขที่3 นายภูวพงษ์ ภุมราพันธุ์ ม
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พุทธรักษ์ ปราบนอก
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
ผู้สอน อ.ศรีวรรณ ปานสง่า
บทที่ 2 พุทธธรรมกับสังคม.
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
“การเสริมสร้างชีวิตให้เป็นสุข”
บทที่ 2 ทฤษฏีจริยธรรม.
บทที่ 2 จริยธรรมการวิจัยตลาด
สายัณห์ สันทัด L.T. ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาลูกเสือและบุคลากรทางการลูกเสือ
ความแตกต่างระหว่างวัยรุ่นชายและวันรุ่นหญิง
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ความเป็นครู.
การสื่อสารด้วยใจคลายวิกฤต
บทที่ 5 การตัดสินใจเชิงจริยธรรมในธุรกิจ
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบสังคม
วัฒนธรรมและค่านิยม ขององค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
พุทธปรัชญา ความเป็นมา พุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ
ประโยชน์ของค่ายประถมศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สถาบันศาสนา หมายถึง แบบแผนของความคิดการกระทำในเรื่องเกี่ยวกับ จิตใจ ความเชื่อทางสังคม ทางศาสนา และเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ประกอบด้วย 3 ประการ คือ ความเชื่อ การแสดงออก ความรู้สึกทางอารมณ์

1. ทำให้คนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และบุคลิกดี 2 1. ทำให้คนมีสุขภาพกาย สุขภาพจิต และบุคลิกดี  2. ส่งเสริมสติปัญญา ความเฉลียวฉลาด การแก้ปัญหา 3. ข้อห้ามศาสนาเป็นสิ่งที่ควบคุมความประพฤติของบุคคลไม่ให้ทำ ชั่วแม้อยู่ในที่ลับตาคน  1. เป็นที่พึ่งทางใจ ช่วยยกระดับจิตใจของมนุษย์ให้สูงขึ้น 2. เป็นแนวทางปฏิบัติเพื่อนำไปสู่ความสำเร็จในสิ่งที่ตนปรารถนา และแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต

1. สร้างความสามัคคีและความสงบสุข ในการอยู่ร่วมกัน 1. ระดับครอบครัว ทำให้ครอบครัวมั่นคง และเป็นครอบครัวที่อบอุ่น  2. ระดับชุมชน ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดี ระหว่างและสร้างความสงบสุขให้แก่ชุมชน  3. ระดับชาติ เป็นสัญลักษณ์และเป็นเอกลักษณ์ ของชาติ   4. ระดับโลก เป็นวิถีทางสุดท้ายแห่งความอยู่ รอดของมนุษยชาติ  1. สร้างความสามัคคีและความสงบสุข ในการอยู่ร่วมกัน 2. สร้างสันติภาพและคุ้มครองสังคมโลก  3. ส่งเสริมและสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรม ให้แก่สังคม 

1. สร้างความเป็นปึกแผ่นให้แก่สังคม 2. สร้างเสริมและถ่ายทอดวัฒนธรรมแก่สังคม 3. ควบคุมสมาชิกให้ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม 4. สนองความต้องการทางจิตใจแก่สมาชิกเมื่อสมาชิก กับปัญหาต่าง ๆ 5. สร้างศรัทธาและความเชื่อแก่มนุษย์ 6. อบรมสั่งสอนคุณค่าทางศีลธรรมและจริยธรรม 7. เป็นแรงเสริมการควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์ 8. สร้างเสริมค่านิยม และบรรทัดฐานทางสังคม 9. ช่วยให้สมาชิกของสังคมมีความสุขทางใจ

1. สิ่งศักดิ์สิทธิ์ คือสิ่งที่ทำให้สมาชิกเกิดการยอมรับและศรัทธา เช่น พระพุทธรูป เป็นต้น 2. พิธีกรรม คือรูปแบบของพฤติกรรมที่เป็นกฎเกณฑ์ ธรรมเนียม หรือประเพณี 3. ความเชื่อ คือเป็นรูปแบบการสักการบูชาและการประกอบพิธีกรรม 4. การปฏิบัติ คือการกระทำเพื่อเป็นการแสดงให้เห็นถึงความเชื่อมั่นและความสำเร็จ ประกอบด้วย 3 ประการ คือ ความเชื่อ การแสดงออก ความรู้สึกทางอารมณ์ 1. องค์การทางสังคม เช่น กลุ่มเจ้าอาวาส กลุ่มพระ กลุ่มชี กลุ่มบาทหลวง 2. หน้าที่ของสถาบันทางการศาสนา    - การให้การอบรมสั่งสอน     - การปกป้อง คุ้มครอง     - การรักษากฎ ศีลธรรมของสังคม     - การขัดเกลาพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางสังคม 3. แบบแผนการปฏิบัติ เช่น การปฏิบัติตามบทบัญญัติ หลักธรรม ประเพณี

ก. สร้างความงมงายให้เชื่อในเรื่องโชคลาง ก.ศาสนาคริสต์ ข.ศาสนาอิสลาม ค.ศาสนาพุทธ ง.ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 3. ศาสนาใดเกี่ยวข้องกับสถาบันศาสนาของไทยมากที่สุด 1. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของศาสนา ก. สร้างความงมงายให้เชื่อในเรื่องโชคลาง ข. สร้างเสริมค่านิยม และบรรทัดฐานทางสังคม ค. อบรมสั่งสอนคุณค่าทางศีลธรรมและจริยธรรม ง. สนองความต้องการทางจิตใจแก่สมาชิกเมื่อ สมาชิกเผชิญ กับปัญหาต่าง ๆ 4. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของสถาบันศาสนา ก.ความเชื่อ ข.การแสดงออก ค.ความรู้สึกทางอารมณ์ ง.ความรัก 2. ข้อใดไม่ใช่รูปแบบของสถาบันศาสนา 5. ข้อใดเป็นการรักษาศาสนาได้ดีที่สุด ก.พิธีกรรม ข.หลักความเชื่อ ค.หลักธรรมคำสอน ง.หลักการปฏิบัติ ก.ไปทำบุญทุกวันพระ ข.บริจาคเงินบำรุงวัด ค.นำหลักธรรมไปใช้ในชีวิตประจำวัน ง.พิมพ์หลักธรรมไปเผยแพร่แก่ผู้อื่น