แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทำ แผนกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและประเมินผล ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Advertisements

ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
การบริหารแผนสู่การปฏิบัติ
การบริหารจัดการเพื่อ พัฒนาผลการปฏิบัติงาน
ระบบการประเมินเพื่อพัฒนาผลการปฏิบัติงาน บุคลากรสายสนับสนุน
การจัดทำรายงานประจำปี มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
การปฏิบัติและจัดการงาน ให้มีประสิทธิภาพ
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
เรื่องสืบเนื่อง การวางแผนและบริหารโครงการสำหรับส่วน ราชการ
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
จัดตั้งงานประสานศูนย์วิทยพัฒนา 25 สิงหาคม 2550
การทำงานสนับสนุนงาน PP ของศูนย์วิชาการเขต
( สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ )
นโยบายการประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ
ข้อคิดเห็นผู้ประเมินภายนอก ระดับอุดมศึกษาต่อ มาตรฐานของสมศ
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
ชุมชน สังคม ภาคใต้บน ชาติ นานาชาติ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
คำอธิบายแนวทางการให้คะแนน เอกสาร/หลักฐานการดำเนินงาน
การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
การจัดทำระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน ขององค์กรและบุคคล Performance Management System( PMS ) โดย สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดสมุทรสงคราม.
ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
แผนการขับเคลื่อนกรอบคุณวุฒิแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
1. การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ/คณะทำงาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
การประกันคุณภาพการศึกษา ภายในมหาวิทยาลัย/คณะ
กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากำลังแรงงาน
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผลการดำเนินงานองค์กร (Performance Measurement)
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
เอกสารประกอบการประชุมผู้บริหารกรมควบคุมโรค
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
กลุ่มที่ 2 ผู้ปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด2 9คำถาม.
๑.เทคนิคสำคัญ ใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยให้แกนนำในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นวิทยากร ใช้กิจกรรมนันทนาการจุดประกายขณะเปิดเวที เช่น เพลง “สดุดีมหาราชา” รูปแบบเวทีเป็นธรรมชาติ
โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA : Public Sector Management Quality Award) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
กลุ่มข้อมูลข่าวสารสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
การบริหารเชิงยุทธศาสตร์
โครงการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (การส่งเสริมให้ส่วนราชการนำร่อง เข้าสู่การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ) เขียนลักษณะสำคัญขององค์กร :
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ระบบและกลไก การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในกลุ่มนักศึกษา วิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น LOGO.
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
การประสานงานและการสื่อสาร วันที่ 27 เมษายน 2553 กลุ่มที่ 1 ผู้ส่งสาร
Paradigm Workshop by Dr. Prapon Phasukyud
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์อำเภอชุมพลบุรี
หมวด5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
แนวทาง KM ทร. ปี 53 ที่เชื่อมโยงและถ่ายทอดสู่ รร.นร.
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
กลุ่มที่ 2 กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่าย สคร.1-12
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทำ แผนกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา กลุ่ม 1 แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทำ แผนกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา

แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทำ แผนกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา “Well planned is half-done.”

แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทำ แผนกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา

Internationalization Universities’ Values Education Research Engagement Management Internationalization

กระบวนการจัดทำแผน เชิญวิทยากร ผู้เชี่ยวชาญให้ความรู้ (เช่น อ.จิตเจริญ และหน่วยงานที่มีการจัดทำ แล้วประสบผลสำเร็จไปให้ความรู้ เช่น World Bank) จัดตั้งคณะทำงาน (รองอธิการบดี คณะบดี และผู้บริหารส่วนกลางทั้งหมด) วิเคราะห์สภาพแวดล้อมมีข้อมูล/เครื่องมือ นำมาประกอบการ ดังนี้ ข้อมูลพื้นฐาน/แผน ระดับชาติ ระดับจังหวัด ระดับกระทรวง ระดับองค์กร ข้อมูลสถิติ Benchmark กับหน่วยงานที่เทียบเคียงกัน (งานวิจัยสถาบัน) นำข้อมูลที่ได้มาตั้งกรอบ ภายใต้ SWOT, PEST, 7-S, Five Force Model สรุปกรอบทิศทางวิสัยทัศน์ กำหนดกลยุทธ์โดยใช้เครื่องมือ Tows Matrix

กระบวนการจัดทำแผน จัดทำแผนกลยุทธ์ที่มีความเชื่อมโยงกับแผนระดับชาติ ระดับจังหวัด ระดับ กระทรวง ระดับองค์กร (ใช้งบรายได้ หากไม่สอดคล้องกับแผน) มีวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย สอดรับกับการจัดสรรงบประมาณ จัดทำร่างแผนยุทธศาสตร์เพื่อนำไปประชาพิจารณ์ จัดทำประชาพิจารณ์ (เชิญผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด) ปรับแก้ร่างตามข้อเสนอแนะ เสนอสภาให้ความเห็นชอบอนุมัติ ปรับแก้ตามข้อสังเกต ข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย (หารือเชิงนโยบายก่อน) ประกาศใช้ เผยแพร่

การนำแผนไปสู่การปฏิบัติ ประชุมชี้แจงผู้บริหารเพื่อถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์ หน่วยงานจัดทำแผนประจำปี/โครงการ/งบประมาณ โดยทำกรอบคำรับรอง เช่น คณบดีทำกรอบคำรับรองต่ออธิการบดี อธิการบดีต่อสภา เป็นต้น ดำเนินการตามแผน ติดตาม รายงานผลการดำเนินงาน เช่น รายเดือน รายไตรมาส รายปี หากไม่เป็นไป ตามแผนสามารถปรับแผนได้ นำเสนอสภา รับข้อเสนอสภามาปรับปรุง

แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทำ แผนกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา

การมีส่วนร่วม P Plan การประชุมชี้แจง ระดมสมอง เพื่อถ่ายทอดนโยบาย มีการสนับสนุนจากกองแผนงาน เพื่อให้ความรู้ในการจัดทำแผน การขอข้อมูลที่ถูกต้อง/เชื่อถือได้ จากสถาบันอื่น Group of Data แลกเปลี่ยนข้อมูล ต่อยอด Share สร้างเครือข่ายโดยใช้มิตรภาพ/ร่วมด้วยช่วยกัน/กลุ่มพันธกิจเดียวกัน การมีส่วนร่วมตั้งแต่ระดับผู้บริหาร หัวหน้าหน่วยงาน คณะทำงาน (ยกร่างแผน) โดย การรับฟังความคิดเห็นจากผู้ปฏิบัติ เปิดใจรับฟัง มองต่างมุม การจัดตั้งคณะกรรมการที่มาจากหลายภาคส่วน (ตัวแทนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง)

การมีส่วนร่วม ประเมินและสะท้อนข้อมูลกลับในการพัฒนาแผน กำหนดผู้เกี่ยวข้องในการพัฒนาแผน ประชาพิจารณ์ จัดกิจกรรมเพื่อระดมสมอง มีนโยบายที่ชัดเจนและสร้างความเข้าใจตรงกัน โดยการจัดทำแผนระดับมหาวิทยาลัย ลงสู่ระดับหน่วยงาน รับฟังความคิดเห็นจากนักศึกษา ผู้ปกครอง ผู้ใช้บัณฑิต ประชุมชี้แจง ถ่ายทอด อบรมให้ความรู้ (ประชาพิจารณ์)

การมีส่วนร่วม มีการกำหนดแผนยุทธศาสตร์ของสถาบัน (ส่วนกลาง) กำหนดตัวชี้วัด KPI ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ จ้างที่ปรึกษาช่วยในการจัดทำแผน แผนยุทธศาสตร์ควรมีทุกๆ ด้าน ให้สอดคล้องกัน ไม่เน้นเรื่องใดเรื่องหนึ่ง แต่ยังคงอัต ลักษณ์ของมหาวิทยาลัยนั้นๆ นโยบายและยุทธศาสตร์ต้องสอดคล้องกัน โดยมีตัวชี้วัดความสำเร็จที่สามารถวัดได้ ตรวจสอบได้ โปร่งใส ตั้งเกณฑ์อย่างเหมาะสม

การมีส่วนร่วม D นำแผนสู่การปฏิบัติ การสื่อสารภายในองค์กรให้ทุกภาคส่วนเล็งเห็นความสำคัญของการจัดทำ แผน การถ่ายทอดแผน/การเข้าถึงแผน การมีรางวัลเป็นแรงจูงใจให้มีส่วนร่วม งบประมาณ อบรม/ถ่ายทอด/ฝึกปฏิบัติ/สร้างความเข้าใจ มีการจูงใจให้ร่วมทำวิจัยสถาบัน

การมีส่วนร่วม ใช้กลยุทธ์ให้มีส่วนร่วมด้วยใจ การประเมินผลงาน (ขึ้นเงินเดือน) การให้รางวัล การประกาศเกียรติคุณ มาตรการด้านงบประมาณในการจูงใจ มีปัจจัยในการกระตุ้นแผนให้บรรลุเป้าหมาย C ติดตามประเมินผล มีการยืนยันตัวชี้วัดในแผน ขาดการติดตาม (ใช้เครือข่ายในการติดตาม) ปรับตัวชี้วัดให้เหมาะสม สอดคล้อง เพื่อนำไปสู่เป้าหมายที่ตั้งไว้

การมีส่วนร่วม ติดตามผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดทุก 3 เดือน/6 เดือน หากไม่เป็นไปตามแผน สามารถปรับแผนได้ A ทบทวนแก้ไข ใช้ตัวชี้วัดของ QA เป็นตัวปรับปรุงแผน การมีส่วนร่วมของระดับบริหาร (เท่านั้น) มีการสนับสนุนจากกองแผนงาน เพื่อให้ความรู้ในการจัดทำแผน เครือข่ายจากผู้บริหาร/บุคคลในองค์กร เครือข่าย Cluster ทำร่วมกัน KPI เดียวกัน (ภายใน) (มหาวิทยาลัยภาค)

ด้านคน ผู้บริหาร มีความรู้ มีวิสัยทัศน์ มีการอบรมเกี่บวกับการบริหารจัดหาร/ แผนกลยุทธ์ กำหนด TOR ให้กับผู้บริหารทุกระดับ มีประสบการณ์ในการจัดทำแผน ผู้บริหารใช้ระบบการประเมินแผนระบบ KPI นำไปพิจารณาความดี ความชอบ มีระบบการกำกับ ติดตาม ประเมินผล ทุกไตรมาส ใช้แผนเป็นเครื่องมือในการบริหารอย่างเคร่งครัด

ด้านคน ผู้บริหารต้องร่วมคิด ร่วมทำ และร่วมรับผิดชอบ มีภาวะผู้นำ การโน้ม น้าวบุคลากร คณาจารย์/สายสนับสนุน กำหนด TOR ของอาจารย์และสายสนับสนุน ในเรื่องแผน ให้ความรู้ด้านแผนแก่คณาจารย์และสายสนับสนุนโดยการจัดอบรม/ ประชุมเชิงปฏิบัติการ กำหนดกิจกรรม/โครงการให้เข้าร่วมเรื่องแผนกลยุทธ์ให้เป็นส่วนหนึ่ง ของการประเมินผลความดีความชอบ

ด้านคน ให้อาจารย์และสายสนับสนุนมีความรู้สึกเป็นเจ้าของแผนฯ และโครงการ ทีมงานจัดทำแผน มีความรู้เรื่องแผนและสามารถถ่ายทอดแผน (Road Show) และ สามารถให้คำปรึกษาได้ มีทักษะในการประสานงานที่ดี ทีมงานจัดทำแผนจะต้องมาจากทุกส่วนงาน นำความรู้ด้านไอทีมาใช้เป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการทำงานและประกอบการ ตัดสินใจของผู้บริหาร จัดเวทีระดมความคิดเห็น (ภายในและภายนอก)

แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทำ แผนกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา

การกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัด กระบวนการกำหนดเป้าหมาย การกำหนดเป้าหมายหลัก ต้องสอดคล้องกับ วิสัยทัศน์ ภารกิจ พันธกิจ อัตลักษณ์ และบริบทของหน่วยงาน พรบ. กฏระเบียบที่เกี่ยวข้อง มีกระบวนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ และกระบวนการวิเคราะห์ ต้องเกิดจากการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกระดับ มีการสื่อสารภายในองค์กรอย่างชัดเจนเกี่ยวกับการกำหนดเป้าหมายเพื่อการบรรลุวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย

การกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัด มีงบประมาณ และทรัพยากรสนับสนุนการดำเนินงานที่เหมาะสม มีการกำหนดกรอบระยะเวลาการดำเนินงานเพื่อบรรลุเป้าหมายไว้อย่างชัดเจน การจัดทำตัวชี้วัด ประเภทของตัวชี้วัดประกอบด้วย ปริมาณ เช่น ร้อยละ จำนวน คุณภาพ เช่น ระดับ ระยะเวลา ต้นทุน

การกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัด การกำหนดเป้าหมายความสำเร็จของตัวชี้วัดควรมีการนำข้อมูลพื้นฐานผล การดำเนินงานในปีที่ผ่านมาเป็น ส่วนประกอบในการพิจารณา (Base Line) มีการกำหนดเจ้าภาพหรือผู้รับผิดชอบตัวชี้วัดในแต่ละระดับอย่างชัดเจน การกำหนดตัวชี้วัด และค่าเป้าหมายของตัวชี้วัดต้องมีความชัดเจน เหมาะสม เป็นไปได้ นำไปใช้ได้จริงและมีข้อมูลประกอบการอ้างอิงเพื่อให้ สามารถตรวจสอบได้

การกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัด ตัวชี้วัดหลักของมหาวิทยาลัยต้องสามารถถ่ายทอดลงไปสู่การปฏิบัติระดับ หน่วยงานย่อยได้อย่างชัดเจน การกำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัดของหน่วยงานควรพิจารณาความสอดคล้องและ เชื่อมโยงกับเกณฑ์มาตรฐานของหน่วยงานภายนอกที่เกี่ยวข้อง เช่น สกอ. สมศ.

แนวปฏิบัติที่ดีในการจัดทำ แผนกลยุทธ์ เพื่อพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา

เครือข่าย ภายใน 1. ระดับ ขาดการติดตาม (ใช้เครือข่ายในการติดตาม) 2. ภารกิจ ฝ่ายวิชาการและฝ่ายสนับสนุน 3. กลุ่มงาน/คณะ 4. ศิษย์เก่า ศิษย์เก่ามีส่วนร่วมในการสนับสนุนรุ่นน้อง

เครือข่าย (ต่อ) ภายนอก 1. ฝ่ายแผน 2. ภาค 3. กลุ่มสถาบัน การขอข้อมูลที่ถูกต้อง/เชื่อถือได้ จากสถาบันอื่น Group of Data แลกเปลี่ยน ข้อมูล ต่อยอด Share สร้างเครือข่ายโดยใช้มิตรภาพ/ร่วมด้วยช่วยกัน กลุ่มสถาบัน (เครือข่ายสถาบันอุดมศึกษา) ตั้งประเด็น ช่วยเหลือกัน เชิญ/นัด ประชุม

เครือข่าย (ต่อ) 4. จังหวัด/ชุมชน เครือข่ายชุมชนที่สถาบันตั้งอยู่ถ่ายทอดแผนลงสู่การปฏิบัติ 5. วิชาชีพ เครือข่ายที่มีลักษณะวิชาชีพเดียวกัน/ข้ามสถาบันและในสถาบัน เพิ่ม มุมมอง 6. ผู้ใช้บัณฑิต เครือข่ายผู้ใช้บัณฑิต (สถานประกอบการ ภาครัฐ ภาคเอกชน)

After Action Review - AAR Facilitator มีจำกัด บางกลุ่มอาจเป็นมือใหม่ อาจทำให้เกิดปัญหา หัวข้อแบ่งปันความรู้ ผู้เข้าร่วมอาจจะยังเข้าใจไม่ชัดเจน ควรมีการฝึกอบรม Facilitator ให้ชำนาญกว่านี้ หากผู้เข้าร่วม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ไม่เข้าใจในประเด็นที่แลกเปลี่ยน หรือหากไม่ชัดเจน อาจสอบถาม Facilitator ได้ ผู้ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ควรมีความรู้ในเรื่องนั้นๆ หรือเรื่องที่จะ แลกเปลี่ยน เช่น การจัดทำแผนกลยุทธ์

After Action Review (ต่อ) ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ควรมีประสบการณ์ในการปฏิบัติจริง ทำจริง เพราะถ้า ไม่มีประสบการณ์ จะไม่เรียกว่าเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) ก็จะเป็นการ บรรยายเท่านั้น ผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีทั้งคนไม่ค่อยพูด ซึ่งการทำ KM ยิ่งพูดยิ่งได้ เพราะฉะนั้นคนที่ทำหน้าที่เป็น Facilitator ควรมีวิธีการกระตุ้นให้พูด หรือมีคนพูด ตลอด หรือพูดไม่หยุด Facilitator จึงควรมีวิธีการให้บางคนพูดน้อยลงหรือหยุดพูด ในบางครั้ง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (KM) ไม่มีอะไรถูกหรือผิด ไม่เถียงกัน ใครมีอะไรก็ให้เล่าให้ พูด