National Health Security Office 1
Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ถึงปี 2554 จะประกอบด้วย 5 กองทุนย่อย 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว) (ปี 2545) 2.งบบริการสุขภาพผู้ติดเชื้อเอช.ไอ.วีและผู้ป่วยเอดส์ (ปี 2549) 3.งบบริการสุขภาพผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง (ปี 2552) 4.งบบริการสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง – 2 nd Prevention DM,HT (ปี 2553) 5.งบบริการสุขภาพผู้ป่วยจิตเวช (ปี2554) 12/13/2014 Speaker : Taweesri Greetong 2
National Health Security Office Subject :ขอบเขตบริการของกองทุนย่อย และหลักการ (1) 1.งบบริการทางการแพทย์ (งบเหมาจ่ายรายหัว) -> บริการสาธารณสุข & สิทธิด้านสุขภาพ ที่มีมาตั้งแต่เริ่มมีสิทธิ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (ครอบคลุมทุกบริการยกเว้น………..) 2.งบบริการสุขภาพผู้ติดเชื้อเอช.ไอ.วีและผู้ป่วยเอดส์ -> จากการเพิ่มสิทธิประโยชน์ในปี 2549 เรื่องยาต้านไวรัสและ บริการที่เกี่ยวกับการได้รับยาต้านไวรัส 3.งบบริการสุขภาพผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง -> จากการเพิ่มสิทธิประโยชน์ในปี 2550 เรื่องการล้างไต/ปลูก ถ่ายไตสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง และการพัฒนาระบบ 12/13/2014 Speaker : Taweesri Greetong 3
National Health Security Office Subject :ขอบเขตบริการของกองทุนย่อย และหลักการ (2) 4.งบบริการสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (2 nd Prevention DM,HT) -> เริ่มในปี 2553 เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการและคุณภาพบริการ ในการควบคุมป้องกันผู้ป่วย DM,HT ไม่ให้เกิดภาวะรุนแรงของโรค มากขึ้น โดยขอบเขตบริการจะเป็นการตรวจทางห้องปฎิบัติการ และ การพัฒนาระบบ 5.งบบริการสุขภาพผู้ป่วยจิตเวช -> เริ่มในปี 2554 เพื่อเพิ่มคุณภาพการรักษาพยาบาล ให้ สอดคล้องกับ พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551โดยเบื้องต้นเน้นปรับ มาตรฐานการให้บริการในการเข้าถึงยาที่มีคุณภาพ จึงเป็นค่ายา (Risperidone & Sertraline) และการพัฒนาระบบบริการเพื่อการ เข้าถึงยาของผู้ป่วย 12/13/2014 Speaker : Taweesri Greetong 4
National Health Security Office Subject : สรุปที่มาของการแยกกองทุนย่อย การเพิ่มสิทธิประโยชน์ การเพิ่มการเข้าถึงบริการและคุณภาพบริการ ใน ประเด็นที่ระบบบริการปัจจุบันยังไม่มี หรือมีน้อยมาก งบประมาณค่าบริการของกองทุนย่อยจะต้องไม่ ซ้ำซ้อนกัน 12/13/2014 Speaker : Taweesri Greetong 5
National Health Security Office Subject : งบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ /13/2014 Speaker : Taweesri Greetong 6
National Health Security Office Subject : การแยกบริการย่อยในงบอัตราเหมาจ่ายรายหัว เพิ่มการเข้าถึงบริการ และคุณภาพบริการ สำหรับหน่วยบริการประจำที่ตั้งในพื้นที่ที่ไม่มีความคุ้มค่าทาง เศรษฐกิจในการลงทุนแต่จำเป็นต้องมีหน่วยบริการ ทำให้มี ต้นทุนบริการสูงกว่าค่าเฉลี่ยทั่วไปมาก ความเสี่ยงทางการเงินของหน่วยบริการ จึงต้องบริหารงบรวมที่ ระดับประเทศ ได้แก่ บริการค่าใช้จ่ายสูง บริการอุบัติเหตุฉุกเฉิน ระหว่างจังหวัด บริการยาที่จำเป็นและมีปัญหาการเข้าถึง 12/13/2014 Speaker : Taweesri Greetong 7
National Health Security Office Subject : งบอัตราเหมาจ่ายรายหัวปี /13/2014 Speaker : Taweesri Greetong 8
National Health Security Office Subject :ที่มาของงบบริการย่อยในงบอัตราเหมาจ่ายรายหัว กรณีเพิ่มการเข้าถึงบริการแบบก้าวกระโดด จะของบประมาณ จากรัฐบาลเพิ่ม กรณีเพิ่มคุณภาพบริการ – จะของบประมาณจากรัฐบาลเพิ่มเป็นบางกรณี – บางกรณีจะใช้งบ OP หรือ IP ที่ได้รับอยู่เดิม 12/13/2014 Speaker : Taweesri Greetong 9 การเพิ่มการเข้าถึงบริการ&คุณภาพบริการ จึงเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้งบอัตราเหมาจ่ายรายหัวเพิ่มขึ้นในแต่ละปี การเพิ่มการเข้าถึงบริการ&คุณภาพบริการ จึงเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำให้งบอัตราเหมาจ่ายรายหัวเพิ่มขึ้นในแต่ละปี
National Health Security Office Subject : หน่วยบริการได้รับงบ UC อย่างไร การเหมาจ่ายตามประชากรที่ลงทะเบียนกับหน่วยบริการ (OP, PP บางส่วน, ค่าเสื่อม) ตามจำนวนผลงานบริการ (IP, PPบางส่วน, HC/AE/บริการเฉพาะโรค/ ยาจำเป็นฯ, ฟื้นฟู, แผนไทย, HIV/AIDS, CKD, จิตเวช) เหมาจ่ายตามผู้ป่วย (ฟื้นฟู, 2 nd prevention DM/HT) พัฒนาศักยภาพบริการ (ฟื้นฟู, ปฐมภูมิ, ตติยภูมิ, HIV/AIDS, CKD, 2 nd prevention DM/HT, จิตเวช) จำนวนข้อมูลบริการ (OP/PP individual record) สิทธิของเจ้าหน้าที่ (งบช่วยเหลือเบื้องต้นผู้ให้บริการที่เสียหายจาก การให้บริการ) 12/13/2014 Speaker : Taweesri Greetong 10