แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
 โครงการส่งเสริมและพัฒนาอาชีพ ประชาชนในจังหวัดเชียงใหม่
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
การจัดการความรู้เพื่อพัฒนางาน
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
ทิศทางการพัฒนา “อำเภอป้องกัน ควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน”
ความปลอดภัยด้านอาหาร (Food Safety)
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
Road Map เขตบริการสุขภาพที่ ๑๒
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข 23 มกราคม 2557 ณ โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี
การพัฒนาระบบสารสนเทศ : ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาระบบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
แผนการขับเคลื่อน พันธะสัญญาคนอีสาน
สารมลพิษ โชคชัย บุตรครุธ.
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน
ตัวชี้วัดการดำเนินงานความปลอดภัยด้านอาหาร สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร ณ โรงแรมเจริญ โฮเต็ล จังหวัดอุดรธานี
การเตรียมความพร้อมกรมอนามัย เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ขับเคลื่อน....ความร่วมมือ.... ด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ภาคเหนือ
การบูรณาการขับเคลื่อนตามความร่วมมือด้านสุขภาพและสิ่งแวดล้อม ในภาคกลาง
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ภาพกิจกรรมการจัดตลาดนัดความรู้ เรื่อง
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมไข้หวัดนก
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
รายละเอียดลักษณะตัวชี้วัดความสำเร็จกิจกรรมและผลการดำเนินงานควบคุมรายโรค โรคที่สำคัญตามนโยบายกระทรวงสาธารณสุข.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
ตัวอย่าง ตารางกรอบแผนการบริหารจัดการและพัฒนาลุ่มน้ำ แบบบูรณาการ
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข ปี 2552 “อาหารปลอดภัย เด็กไทยฉลาด”
ทิศทางการบริหารงบประมาณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
การติดตามประเมินผล ปี 2552
การประชุมชี้แจงรายละเอียด
ประเด็นการตรวจราชการ กฎหมายและการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ
ทิศทางอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ปี 2556
การป้องกันและควบคุมโรคในเขตบริการสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมกรณีอุทกภัย
การดำเนินงาน อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็ง แบบยั่งยืน จังหวัดน่าน
ศูนย์อนามัยที่ 2 สระบุรี
ภารกิจและทิศทางการดำเนินงาน กฎหมายสาธารณสุข ของกรมอนามัย
ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่
แผนด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เขตบริการสุขภาพที่ 5 ประจำปีงบประมาณ 2558
แผนบูรณาการ ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
การดำเนินงานโครงการสำคัญ และตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน กลุ่มที่ 2 (6.วัยรุ่น 7.วัยทำงาน 8.ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยง)
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
วัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน 1. ถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนวทางการดำเนินการ ป้องกัน ควบคุมโรค งานอนามัย สิ่งแวดล้อม และงาน อา ชีวอนามัย ที่ได้มาตรฐาน 2. ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
สถานการณ์โรคที่สำคัญ ในเขตบริการสุขภาพที่ 11
โดย นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ระบบการจัดการสุขาภิบาลอาหาร ระบบการจัดการน้ำบริโภค ของ
หลักการและแนวทางจัดการสุขาภิบาลอาหารและน้ำ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
ประกาศการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยที่ 62/2555 เรื่อง การรายงานผลการดำเนินงานตามแผนบริหาร จัดการความเสี่ยงตามที่กำหนดไว้ในรายงาน การวิเคราะห์ความเสี่ยงจากอันตราย.
สำนักงานป้องกันควบคุม โรคที่ 2 จังหวัดสระบุรี. แรงบันดาลใจ  การกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเข้ามามี บทบาทในการให้บริการ สาธารณะ  ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการดำเนินงาน อนามัยสิ่งแวดล้อมในปี 2558 กลุ่มพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

สถานการณ์ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

สถานการณ์ปัญหาอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาคเหนือ มูลฝอยทั่วไปยังตกค้าง 995,766 ตัน มูลฝอยติดเชื้อของ รพศ./รพท./รพช. รวม 1,448 ตัน/ปี (ของเขต1 ทั้งหมดประมาณ 4 พันตันหรือ 12 ตัน/วัน) มูลฝอยอันตราย 1 แสน 2 หมื่นตัน มาจากอุตสาหกรรม 6 หมื่นตัน มาจากชุมชน 5 หมื่น 7 พันตัน มูลฝอย ร้อยละ 58 ไม่มีระบบบำบัดสิ่งปฏิกูล ร้อยละ 46 ทิ้งสวน ไร่ นา สิ่งปฏิกูล โรคระบบทางเดินอาหารมีอัตราสูง สถานการณ์อาหารเป็นพิษในโรงเรียนมีบ่อยครั้ง กิจการผลิตน้ำแข็ง กิจการตู้น้ำหยอดเหรียญ การเปิดตลาดนัด ยังไม่ได้รับการควบคุมที่ดี อาหารและน้ำ การร้องเรียนเหตุรำคาญ 3 อันดับแรก คือเรื่องกลิ่นจากการเลี้ยงสัตว์ การทำอาหาร การถนอมอาหาร เรื่องเสียงดัง และ ฝุ่น กิจการ โรงสีข้าว หอพัก คาราโอเกะ เหตุรำคาญ ปัญหาหมอกควัน การปนเปื้อนสารเคมีทางการเกษตร โรงงานอุตสาหกรรม เหมืองแร่ การเคลื่อนย้ายสินค้า ขยะและสารเคมีข้ามแดน พื้นที่เสี่ยง

ยุทธศาสตร์กระทรวงด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ปี 58 ผลลัพธ์ที่ 1. ร้อยละ 25 ของเทศบาลนคร/เมือง มีการดำเนินงานตามกฎหมาย รพ.สธ.จัดบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยได้มาตรฐานและตามกฎหมาย เพิ่มประสิทธิภาพ และกลไก การใช้กฎหมาย การเฝ้าระวังป้องกัน และแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแว้อมและสุขภาพ การพัฒนาขีด ความสามารถบุคลากร ด้านกฎหมาย/วิชาการ ผลลัพธ์ที่ 3 มีข้อมูล สถานการณ์ปัญหาในระดับจังหวัด มีการจัดการปัญหาในพื้นที่เสี่ยงจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ผลลัพธ์ที่ 2 จพง.สธ./จพง.ท้องถิ่นมีสมรรถนะในการจัดการสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี ระบบติดตามและ ประเมินผล

เป้าหมายสำคัญเชิงประเด็นงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มูลฝอย(ทั่วไป , อันตราย) สิ่งปฏิกูล สุขาภิบาลอาหาร คุณภาพน้ำบริโภค เหตุรำคาญ พื้นที่เสี่ยง(การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ)HIA) โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มูลฝอยติดเชื้อ การบำบัดน้ำเสีย (ดำเนินการตามกฎหมาย)

ยุทธศาสตร์ อนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ สนับสนุนคณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัดตามที่ได้รับการแต่งตั้ง - ข้อมูล สถานการณ์ ข้อกฎหมาย วิชาการ การเตรียมประเด็น การติดตามมติ การวางแผน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ ถอดบทเรียนการดำเนินการร่วมในระดับเขต การพัฒนาขีดความสามารถบุคลากรด้านกฎหมายสาธารณสุข - การอบรมเจ้าพนักงานสาธารณสุขระดับอำเภอด้านกฎหมายสาธารณสุข - การอบรมเจ้าพนักงานท้องถิ่นด้านกฎหมายสาธารณสุข - การจัดเวทีจัดการความรู้เรื่องการใช้กฎหมายสาธารณสุข

ยุทธศาสตร์ อนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ การประเมินระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม อปท. (EHA) กรมอนามัยจัดอบรมผู้ประเมิน อปท. เรื่อง EHA 9 ระบบ (หลักสูตร 58 ชั่วโมง) ศูนย์ฯจัดประชุมชี้แจงการประเมิน EHA ให้ สสจ., สสอ. ทราบ(3 วัน) ติดตามพัฒนาท้องถิ่นในการพัฒนาระบบบริการให้เป็นไปตามมาตรฐาน EHA การประเมินท้องถิ่นเรื่อง EHA (โดยมีศูนย์ฯและกลุ่มอนามัยสิ่งแวดล้อมจังหวัดเป็นผู้ประเมิน และสสอ.เป็นผู้กำกับติดตามการพัฒนา) ถอดบทเรียนร่วมกับสสจ., สสอ. และท้องถิ่นเรื่อง EHA

ยุทธศาสตร์ คุ้มครองผู้บริโภค การพัฒนาศักยภาพผู้ปรุงประกอบอาหาร / ผู้สัมผัสอาหาร / ผู้บริโภค การเฝ้าระวัง ตรวจสอบมาตรฐาน ความปลอดภัยทางอาหาร การอบรมหลักสูตร food Inspector ให้กับเจ้าหน้าที่ และ ท้องถิ่น

ยุทธศาสตร์ ควบคุมโรค โครงการสุขาภิบาลพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว-พม่า การเตรียมการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม