วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วาระที่ 3.6 ความก้าวหน้าของการดำเนินงานเกี่ยวกับตัวชี้วัด (กพร.)
Advertisements

วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่จัดเก็บภาษี เพื่อส่งเสริมเสถียรภาพทาง การคลัง พัฒนาสังคม และรักษาสิ่งแวดล้อม พันธกิจ 1. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี เพื่อรักษาเสถียรภาพทาง.
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 3 พฤษภาคม 2554.
แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ.ศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
ภาพรวมแผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แบบฟอร์มยืนยัน แผนผังเชิงกลยุทธ์ (Strategy Map)
แผนปฏิบัติราชการของมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ ยุทธศาสตร์จังหวัดกระบี่
วิสัยทัศน์กรมส่งเสริมสหกรณ์ (Vision) ปี
นโยบายด้านการบริการวิชาการ
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
การถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับองค์กร ส่วนแผนงาน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
ยุทธศาสตร์กรมสรรพสามิต
แผนยุทธศาสตร์กรมอนามัย พ.ศ
สวัสดีครับ.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
ภารกิจและนโยบาย 6 ยุทธศาสตร์ 35 กลยุทธ์ ของ ส.อ.ศ. บัญญัติ สมสุพรรณ
แผนปฏิบัติราชการการศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
องค์ประกอบของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี พ.ศ ระดับกระทรวง และกรม
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดต่อทั่วไป ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดนครราชสีมา
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและ ควบคุมโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี) สร้างเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2553 ระดับประชาชน.
สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
แผนที่ยุทธศาสตร์ (SRM) ระบบรับรองผู้สัมผัสอาหารมืออาชีพ
การตรวจรับรองเกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Certify FL) 1.
เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ กับนโยบายรัฐบาล และ วท.
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
แผนปฏิบัติราชการ พ.ศ ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ทำไมต้องปรับระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ?
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
ปิงปอง 7 สี สร้างภาคีสุขภาพจิต “สู้เบาหวาน ความดัน”
Blueprint for Change ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blueprint for Change) คืออะไร ? เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารราชการให้เกิดความพร้อมในการสนับสนุนและผลักดันให้ยุทธศาสตร์ของส่วนราชการเกิดผลทางปฏิบัติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
ระเบียบวาระการเตรียมทีมนิเทศงาน ปี 2557
“การพัฒนาสำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัด สู่การเป็นองค์กรสมรรถนะสูง”
คำรับรองการปฏิบัติ ราชการ กรมอนามัย ปี 2549 จำนวน 20 ตัวชี้วัด.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
นโยบายด้านบริหาร.
การสัมมนากลุ่ม 3 ความสำเร็จในการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(ร่าง) แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
การบรรยายเรื่องการประกันคุณภาพการศึกษา สำหรับนักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 13 มิถุนายน 2547.
แนวทางการจัดทำ SAR การเตรียมข้อมูล รูปแบบรายงาน การนำเสนอ.
รองเลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
โดย นายแพทย์เกียรติภูมิ วงศ์รจิต รองอธิบดีกรมสุขภาพจิต
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
เรื่องของการแจ้งข้อมูล ข่าวสาร ต้อง ให้ฉับไว ถูกต้อง ด้านคุณภาพการให้บริการ ความพึง พอใจต้องสำรวจให้ครบทุกหน่วยงาน ต้องพัฒนาทักษะ ความรู้ความเข้าใจ จัดระบบงานใหม่ให้สอดคล้องกับความ.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
ยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ พ. ศ ของ วท
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
1111 การขับเคลื่อน สู่ เป้าหมายกรม ควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ. ศ ดร. นายแพทย์พรเทพ ศิริวนา รังสรรค์ อธิบดีกรมควบคุมโรค 17 พฤษภาคม 2555.
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักงานอัยการสูงสุด
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ประจำปี ๒๕๕๕ สาธารณสุขอำเภอป่าติ้ว
ทำไมต้องทำ HA ? เพราะทำให้เกิดระบบงานที่ดี
แผนที่ยุทธศาสตร์กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ
“ทิศทางการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่ 1 และ 2 พันธ กิจ ศึกษา วิจัย พัฒนาวิชาการ บำบัด รักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูสมรรถภาพ ถ่ายทอดองค์ ความรู้และเทคโนโลยีด้าน สุขภาพจิตและจิตเวช รวมทั้ง ปัญหาสุขภาพจิตจากแอลกอฮอล์ ด้วยการบริหารจัดการที่ดี

เป้าหม าย 1. ผู้ป่วยแอลกอฮอล์ได้รับการดูแลระดับชาติและไม่กลับไป ดื่มซ้ำ 2. ให้บริการบำบัดรักษา ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชแบบ องค์รวมที่ได้ มาตรฐาน มุ่งเน้นผู้รับบริการที่มีปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน เรื้อรัง และรุนแรง 3. ประชาชนในเขตพื้นที่ดำเนินการได้รับการดูแลและเข้าถึง บริการสุขภาพจิตและจิตเวช ตัวชี้วัด เป้าหมาย ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิต จากแอลกอฮอล์ ได้รับการบำบัดทางจิตสังคมไม่ กลับไปดื่มซ้ำภายใน 1 ปี

ประเด็นยุทธศาสตร์ และ เป้าประสงค์ ยุทธศาส ตร์ที่ 1 พัฒนาความเป็นเลิศด้านการบำบัดรักษาผู้ มีปัญหาสุขภาพจิตจากแอลกอฮอล์ของ ประเทศ เป้าประสงค์ 1. เป็นต้นแบบการบริการด้านการบำบัดรักษาผู้มี ปัญหาสุขภาพจิต จากแอลกอฮอล์ที่ได้มาตรฐาน 2. มีความเชี่ยวชาญในงานวิจัยและพัฒนาใน ระดับประเทศ 3. เป็นแหล่งการศึกษาและฝึกอบรมด้านการดูแล ผู้มีปัญหา สุขภาพจิตจากแอลกอฮอล์ที่ได้มาตรฐานหรือ ผ่านการรับรองจาก สภาวิชาชีพ 4. มีฐานข้อมูลเชิงวิชาการ / เครือข่ายในด้าน ปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ 5. เป็นแหล่งการศึกษาและฝึกอบรมด้านการ ส่งเสริมสุขภาพจิตและ ป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์

ประเด็นยุทธศาสตร์ และ เป้าประสงค์ ยุทธศาส ตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการการดูแลผู้มีปัญหา สุขภาพจิตและจิตเวชที่มีปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน เรื้อรัง และรุนแรงให้มีมาตรฐาน ขั้นสูง (Supra Specialist Service) เป้าประสงค์ 1. ผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ที่มี ปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน เรื้อรัง และรุนแรง ได้รับการบำบัดรักษาที่มี มาตรฐานขั้นสูง ( ประสิทธิภาพ ) 2. มีการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยี การ ดูแลผู้ที่มีปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน เรื้อรัง และรุนแรง ( คุณภาพ ) 3. มีระบบบริหารจัดการด้านยามี ประสิทธิภาพ 4. มีระบบการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ

ประเด็นยุทธศาสตร์ และ เป้าประสงค์ ยุทธศาส ตร์ที่ 3 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคี เครือข่ายในการดำเนินงาน สุขภาพจิตและจิตเวช เป้าประสงค์ 1. ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชทั่วไป ได้รับการดูแลรักษาในเขตบริการสุขภาพ 2. เครือข่ายสุขภาพจิตและจิตเวชมีการบูร ณาการงานสุขภาพจิตและจิตเวชในการ ดำเนินงานของตนเอง 3. เครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช ได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้เทคโนโลยี

ประเด็นยุทธศาสตร์ และ เป้าประสงค์ ยุทธศาส ตร์ที่ 4 พัฒนาสู่องค์กรที่มีขีดความสามารถระดับสูง ด้วยระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการที่ดี เป้าประสงค์ 1. ป้องกันและตอบสนองต่อข้อร้องเรียน 2. พัฒนาให้เกิดกระบวนการที่เชื่อมโยงระหว่างภาครัฐ และภาคีอื่นๆนอกภาครัฐ 3. การดำเนินงานสอดคล้องกับ พ. ร. บ. ข้อมูลข่าวสารของ ราชการพ. ศ และมติ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 ธ. ค การเบิกจ่ายเงินงบประมาณของส่วนราชการต่างๆ รวดเร็วมากขึ้น 5. มีข้อมูลทางการเงินสำหรับนำไปใช้ในการวิเคราะห์ผล การดำเนินงานและนำไปสู่ การบริหารราชการอย่างมีคุณภาพ 6. พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของ รพ. และมีความผูกพัน กับองค์กร 7. การนำข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ 8. ส่งเสริมให้บุคลากรเกิดวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้, การ สร้างงานวิจัยจากงานประจำ

CLT PCT ราย โรค PCT ประจำ ตึก

วิสัยทัศน์การพัฒนางาน สุขภาพจิต ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของ วิสัยทัศน์การพัฒนางาน สุขภาพจิตเมื่อสิ้นแผนฯ 11

ทิศทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่ 1 “ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิต ” ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายเมื่อสิ้นแผนฯ 11 “ ร้อยละ 50 ของเครือข่ายเป็นเจ้าภาพและ ร่วมดูแล / ผลักดันงานสุขภาพจิต ” ทิศทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่ 2 “ พัฒนานโยบายและกลไกการขับเคลื่อน การดำเนินงานสุขภาพจิตในระดับชาติและระดับ ท้องถิ่น ” ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายเมื่อสิ้นแผนฯ กฎหมาย / นโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องมีองค์ประกอบ ของมิติด้านสุขภาพจิต 2. ร้อยละ 50 ของแผนชุมชน / แผนสุขภาพตำบล ที่มีองค์ ประกอบด้านสุขภาพจิต