วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่ 1 และ 2 พันธ กิจ ศึกษา วิจัย พัฒนาวิชาการ บำบัด รักษา ส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟูสมรรถภาพ ถ่ายทอดองค์ ความรู้และเทคโนโลยีด้าน สุขภาพจิตและจิตเวช รวมทั้ง ปัญหาสุขภาพจิตจากแอลกอฮอล์ ด้วยการบริหารจัดการที่ดี
เป้าหม าย 1. ผู้ป่วยแอลกอฮอล์ได้รับการดูแลระดับชาติและไม่กลับไป ดื่มซ้ำ 2. ให้บริการบำบัดรักษา ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชแบบ องค์รวมที่ได้ มาตรฐาน มุ่งเน้นผู้รับบริการที่มีปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน เรื้อรัง และรุนแรง 3. ประชาชนในเขตพื้นที่ดำเนินการได้รับการดูแลและเข้าถึง บริการสุขภาพจิตและจิตเวช ตัวชี้วัด เป้าหมาย ร้อยละ 50 ของผู้ป่วยที่มีปัญหาสุขภาพจิต จากแอลกอฮอล์ ได้รับการบำบัดทางจิตสังคมไม่ กลับไปดื่มซ้ำภายใน 1 ปี
ประเด็นยุทธศาสตร์ และ เป้าประสงค์ ยุทธศาส ตร์ที่ 1 พัฒนาความเป็นเลิศด้านการบำบัดรักษาผู้ มีปัญหาสุขภาพจิตจากแอลกอฮอล์ของ ประเทศ เป้าประสงค์ 1. เป็นต้นแบบการบริการด้านการบำบัดรักษาผู้มี ปัญหาสุขภาพจิต จากแอลกอฮอล์ที่ได้มาตรฐาน 2. มีความเชี่ยวชาญในงานวิจัยและพัฒนาใน ระดับประเทศ 3. เป็นแหล่งการศึกษาและฝึกอบรมด้านการดูแล ผู้มีปัญหา สุขภาพจิตจากแอลกอฮอล์ที่ได้มาตรฐานหรือ ผ่านการรับรองจาก สภาวิชาชีพ 4. มีฐานข้อมูลเชิงวิชาการ / เครือข่ายในด้าน ปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ 5. เป็นแหล่งการศึกษาและฝึกอบรมด้านการ ส่งเสริมสุขภาพจิตและ ป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์
ประเด็นยุทธศาสตร์ และ เป้าประสงค์ ยุทธศาส ตร์ที่ 2 พัฒนาระบบบริการการดูแลผู้มีปัญหา สุขภาพจิตและจิตเวชที่มีปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน เรื้อรัง และรุนแรงให้มีมาตรฐาน ขั้นสูง (Supra Specialist Service) เป้าประสงค์ 1. ผู้ที่อยู่กับปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช ที่มี ปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน เรื้อรัง และรุนแรง ได้รับการบำบัดรักษาที่มี มาตรฐานขั้นสูง ( ประสิทธิภาพ ) 2. มีการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยี การ ดูแลผู้ที่มีปัญหายุ่งยาก ซับซ้อน เรื้อรัง และรุนแรง ( คุณภาพ ) 3. มีระบบบริหารจัดการด้านยามี ประสิทธิภาพ 4. มีระบบการส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ
ประเด็นยุทธศาสตร์ และ เป้าประสงค์ ยุทธศาส ตร์ที่ 3 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคี เครือข่ายในการดำเนินงาน สุขภาพจิตและจิตเวช เป้าประสงค์ 1. ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชทั่วไป ได้รับการดูแลรักษาในเขตบริการสุขภาพ 2. เครือข่ายสุขภาพจิตและจิตเวชมีการบูร ณาการงานสุขภาพจิตและจิตเวชในการ ดำเนินงานของตนเอง 3. เครือข่ายบริการสุขภาพจิตและจิตเวช ได้รับการสนับสนุนองค์ความรู้เทคโนโลยี
ประเด็นยุทธศาสตร์ และ เป้าประสงค์ ยุทธศาส ตร์ที่ 4 พัฒนาสู่องค์กรที่มีขีดความสามารถระดับสูง ด้วยระบบบริหารจัดการแบบบูรณาการที่ดี เป้าประสงค์ 1. ป้องกันและตอบสนองต่อข้อร้องเรียน 2. พัฒนาให้เกิดกระบวนการที่เชื่อมโยงระหว่างภาครัฐ และภาคีอื่นๆนอกภาครัฐ 3. การดำเนินงานสอดคล้องกับ พ. ร. บ. ข้อมูลข่าวสารของ ราชการพ. ศ และมติ คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 ธ. ค การเบิกจ่ายเงินงบประมาณของส่วนราชการต่างๆ รวดเร็วมากขึ้น 5. มีข้อมูลทางการเงินสำหรับนำไปใช้ในการวิเคราะห์ผล การดำเนินงานและนำไปสู่ การบริหารราชการอย่างมีคุณภาพ 6. พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของ รพ. และมีความผูกพัน กับองค์กร 7. การนำข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์ 8. ส่งเสริมให้บุคลากรเกิดวัฒนธรรมแห่งการเรียนรู้, การ สร้างงานวิจัยจากงานประจำ
CLT PCT ราย โรค PCT ประจำ ตึก
วิสัยทัศน์การพัฒนางาน สุขภาพจิต ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของ วิสัยทัศน์การพัฒนางาน สุขภาพจิตเมื่อสิ้นแผนฯ 11
ทิศทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่ 1 “ เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานสุขภาพจิต ” ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายเมื่อสิ้นแผนฯ 11 “ ร้อยละ 50 ของเครือข่ายเป็นเจ้าภาพและ ร่วมดูแล / ผลักดันงานสุขภาพจิต ” ทิศทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่ 2 “ พัฒนานโยบายและกลไกการขับเคลื่อน การดำเนินงานสุขภาพจิตในระดับชาติและระดับ ท้องถิ่น ” ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายเมื่อสิ้นแผนฯ กฎหมาย / นโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องมีองค์ประกอบ ของมิติด้านสุขภาพจิต 2. ร้อยละ 50 ของแผนชุมชน / แผนสุขภาพตำบล ที่มีองค์ ประกอบด้านสุขภาพจิต