ข้อสังเกตสภาพอากาศแปรปรวน ประชุมสายวิทยาการอุตุนิยมวิทยา ครั้ง ที่ ๖ / ๕๗ วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ณ ห้องประชุม กขอ. คปอ
ข้อสังเกตสภาพอากาศ แปรปรวน ๑. การล่าช้าของอากาศหนาวในปีนี้ ๒. แนวโน้มฤดูหนาวในปีนี้ ( ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ ) ๓. สรุป
ข้อสังเกตสภาพอากาศ แปรปรวน ๑. การล่าช้าของอากาศหนาวในปีนี้ ๒. แนวโน้มฤดูหนาวในปีนี้ ( ๒๕๕๗ – ๒๕๕๘ ) ๓. สรุป
การล่าช้าของอากาศหนาว ในปีนี้ ข้อสังเกตการล่าช้าของอากาศหนาว – อุณหภูมิต่ำสุดรายภาค – การกระจายของฝนเชิงพื้นที่
อุณหภูมิต่ำสุดรายภาค N NE C N NE C ตารางอุณหภูมิต่ำสุดรายภาค ๑๔ – ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๗ ตารางอุณหภูมิต่ำสุดรายภาค ๑๔ – ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๖
อุณหภูมิต่ำสุดรายภาค ตารางอุณหภูมิต่ำสุดรายภาค ๒๓ – ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ ตารางอุณหภูมิต่ำสุดรายภาค ๒๓ – ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ N NE C N NE C
อุณหภูมิต่ำสุดรายภาค ( ต่อ ) N NE C N NE C ตารางอุณหภูมิต่ำสุดรายภาค ๑ – ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ตารางอุณหภูมิต่ำสุดรายภาค ๑ – ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
อุณหภูมิต่ำสุดรายภาค ( ต่อ ) N NE C N NE C ตารางอุณหภูมิต่ำสุดรายภาค ๑๐ – ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ตารางอุณหภูมิต่ำสุดรายภาค ๑๐ – ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
การกระจายของฝนเชิงพื้นที่ N NE C N NE C ตารางการกระจายของฝนเชิงพื้นที่รายภาค ๑๔ – ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๗ ตารางการกระจายของฝนเชิงพื้นที่รายภาค ๑๔ – ๒๒ ตุลาคม ๒๕๕๖
การกระจายของฝนเชิงพื้นที่ N NE C ตารางการกระจายของฝนเชิงพื้นที่รายภาค ๒๓ – ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๗ N NE C ตารางการกระจายของฝนเชิงพื้นที่รายภาค ๒๓ – ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๖
การกระจายของฝนเชิงพื้นที่ ( ต่อ ) N NE C ตารางการกระจายของฝนเชิงพื้นที่รายภาค ๑ – ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ N NE C ตารางการกระจายของฝนเชิงพื้นที่รายภาค ๑ – ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
การกระจายของฝนเชิงพื้นที่ ( ต่อ ) N NE C N NE C ตารางการกระจายของฝนเชิงพื้นที่รายภาค ๑๐ – ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ตารางการกระจายของฝนเชิงพื้นที่รายภาค ๑๐ – ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๖
การมาล่าช้าของอากาศ หนาว สาเหตุ – Trough Low from Andaman Sea – Polar Front Jet Stream – Easterly Wind
การมาล่าช้าของอากาศ หนาว สาเหตุ – Trough Low from Andaman Sea – Polar Front Jet Stream – Easterly Wind
Trough Low from Andaman Sea หลักการ : ร่องความกดอากาศต่ำจาก หย่อมความกดอากาศต่ำ เป็นตัวการ หนึ่งที่ทำให้บริเวณความกดอากาศสูง หรือมวลอากาศเย็นไม่สามารถแผ่ลง มาปกคลุมได้อย่างเต็มที่ เหตุ : บริเวณประเทศไทยได้รับอิทธิพล จากร่องความกดอากาศต่ำจากหย่อม ความกดอากาศต่ำบริเวณทะเลอันดามัน และใกล้เคียงอยู่ตลอด ผล : บริเวณความกดอากาศสูงหรือมวล อากาศเย็นจากสาธารณรัฐประชาชนจีน ไม่สามารถแผ่ลงมาปกคลุมบริเวณ ประเทศไทยได้อย่างเต็มที่
Trough Low from Andaman Sea ( ต่อ )
ข้อสังเกต – การก่อตัวของหย่อมความกด อากาศต่ำในบริเวณทะเลอันดามัน และบริเวณใกล้เคียง – การทวีความรุนแรงจาก หย่อมความ กดอากาศต่ำ หย่อมความกด อากาศต่ำกำลังแรง พายุหมุน เขตร้อน