ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การดำเนินงานด้านอนามัยการเจริญพันธุ์
Advertisements

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ จังหวัดตรัง ปี 2555 งานควบคุมโรคติดต่อ
โครงการบูรณาการงานสุขภาพจิตหรือจิตเวช สู่เครือข่ายนอกระบบสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2553
สกาวรัตน์ พวงลัดดา สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการสุขภาพจิตแห่งชาติ
การทำงานเชิงรุกและการส่งต่อ
โดย โครงการช่วยกันสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าผู้สูงอายุ
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
การจัดทำระบบข้อมูลสุขภาพพื้นที่ : จังหวัดลำพูน
การจัดหาและกระจายวัคซีน MMR เพื่อการป้องกัน/ควบคุมโรคหัด
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
การดำเนินงานเพื่อลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและเยาวชน
การป้องกันควบคุมโรคขาดสารไอโอดีน
บทบาท “ Six Key Function” ในจังหวัดภาคกลางตะวันตก
COP PMQA ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่.
การดำเนินงานตำบลจัดการสุขภาพ ตำบลเขาซก อำเภอหนองใหญ่ ชลบุรี
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
กิจกรรมประชุมพัฒนาการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคระดับจังหวัด ในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 4,5 ( การปรับปรุงการบริหารจัดการที่สนับสนุนการ ขับเคลื่อนงานอำเภอ.
รายประเด็น ปีงบประมาณ 2553
แม่วัยรุ่น (Teenage Mothers) ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กลุ่ม น้ำบริโภคสะอาด ปลอดภัย เพียงพอ
นโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน และกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
โครงการพัฒนาการบริการเด็กที่มีปัญหาพัฒนาการและออทิสติก
การดำเนินงานกรมสุขภาพจิต
โรงพยาบาลสวนสราญรมย์
การดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกันการตั้งครรภ์ในกลุ่มวัยรุ่น
1. 1. กลุ่มองค์กร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 2. เจ้าหน้าที่ รพ. สต และ เจ้าที่ในรพ. 3. ครู
การรายงานความก้าวหน้าในระบบ
(ส่วนที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
แผนหลัก สรุปทิศทาง. สสส. เปรียบเสมือน “น้ำมันหล่อลื่น” ที่ช่วยให้ ฟันเฟืองของกลไกสร้างเสริมสุขภาพทำงาน อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด.
สำนักประสานการพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
สำนัก เลขา. ผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือนตุลาคม 2548.
เป้าหมายการประชุม บูรณาการการนิเทศ ติดตาม ประเมินผลใน รพ.สต.
1. เสือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
วัตถุประสงค์ การส่งสริมสุขภาพป้องกัน และเฝ้าระวังโรค
ยุทธศาสตร์ที่ 2: ลดปัจจัยเสี่ยงในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น นำ KM ไปใช้ 1. ระดับศูนย์เขต 1.1 เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เสริมสร้างศักยภาพ ชมรมเด็กไทยทำได้ วันที่
ทศวรรษการพัฒนาเด็กไทย
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
มีการอบรมป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น
ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสุโขทัย
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
กลไกโภชนาการสมวัย นโยบาย สื่อสารสาธารณะ HUB/ทีมภาค ชุมชน สื่อสาร
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
แนวทางดำเนินงานสุขภาพภาคประชาชน ของกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
การตรวจราชการและนิเทศงานฯ
เป็นผู้นำด้านวิชาการ และเทคโนโลยีการ ป้องกันและควบคุมโรค ระดับจังหวัดและเขต.
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
ตัวอย่างกิจกรรมภายใต้บทบาทของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สกลนครโมเดล.
ผลการตรวจราชการและนิเทศงาน รอบที่ 1
โครงการ บูรณาการความร่วมมือภาคีเครือข่าย สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ เพื่อผู้สูงอายุสุขภาพดี “80 ปี ยังแจ๋ว”
นำเสนอโดย นพ.ณรงค์ สายวงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
4. ด้านการสื่อสาร 5. ด้านการพัฒนานโยบายสาธารณะ
Roadmap : การขับเคลื่อนระดับพื้นที่ เป็นอย่างไร ??
และแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ชี้แจงหลักเกณฑ์การโอนเงิน ระเบียบการเบิก-จ่ายงบประมาณ
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
เป้าประสงค์ มีระบบและกลไกการบริหารจัดการที่ดีด้านอาหารและโภชนาการในระดับท้องถิ่น เกิดศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก บ้านรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน และชุมชนที่พึงประสงค์ด้านโภชนาการ.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผลการสำรวจความต้องการ ความ คาดหวัง และความพึงพอใจ ของภาคีเครือข่ายด้านการส่งเสริม สุขภาพและพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ในพื้นที่รับผิดชอบ ต่อศูนย์อนามัยที่ 6 ประจำปีงบประมาณ 2552

กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ได้สำรวจ ความต้องการ ความคาดหวัง และ ความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายด้าน การส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัย สิ่งแวดล้อมที่มีต่อบริการวิชาการของ ศูนย์อนามัยที่ 6 โดยเก็บข้อมูลใน ระหว่างการปฏิบัติงาน ในเดือน พฤษภาคม – กรกฎาคม 2552 ครอบคลุมทั้ง 8 จังหวัดและมีความ ครอบคลุมผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย จำนวน 178 ท่าน ผลการ สำรวจสรุปได้ดังนี้

กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรสังกัด รพศ./ รพท./ รพช. สูงสุดร้อยละ 39.9 รองลงมา คือ อบต. ร้อยละ 15.7 สสจ. ร้อยละ 12.4/PCU ร้อยะ 10.1 เทศบาล ร้อยละ 9.0 สพท. ร้อยละ 2.2 และอื่น ๆ ร้อยละ 1.7 แบ่งเป็นเพศหญิง ร้อยละ 71.1 และ เพศชาย ร้อยละ 28.9 การศึกษาสูงสุด ปริญญาตรี ร้อยละ 70.1 รองลงมาคือ ปริญญาโท ร้อยละ 16.9 อื่น ๆ ร้อยละ 10.7

งานที่รับผิดชอบมากกว่า 1 งานคือ ยุทธศาสตร์แม่และเด็ก ร้อยละ 39.2 ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยงในวัยเรียนและ เยาวชน ร้อยละ 27.9 ยุทธศาสตร์แก้ปัญหาโรคอ้วนในคนไทย ร้อยละ 24.9 ยุทธศาสตร์ผู้สูงอายุ ร้อยละ 33.3 ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนและท้องถิ่นน่าอยู่ ร้อยละ 28.1 ยุทธศาสตร์ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ร้อยละ 15.8 พันธกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ร้อยละ 39.9 พันกิจส่งเสริมการบริโภคเกลือเสริม ไอโอดีน ร้อยละ 23.7

บุคลิกภาพของบุคลากรเป็นกันเอง อัธยาศัยดี ร้อยละ 82.6 การนิเทศติดตามงานอย่างกัลยาณมิตร เนื้อหาวิชาการตรงตามความต้องการ ประยุกต์ใช้ได้ร้อยละ 63.8 การจัดการที่ดีระหว่างการประชุม / อบรม / สัมมนา ร้อยละ 57.9 ความสะดวกรวดเร็วในการประสานงาน ร้อย ละ 48.0 การสนับสนุนวิทยากร / สื่อ / วิชาการตามที่ ร้องขอ ร้อยละ 40.9 ข้อชื่นชม ความประทับใจ

ความไม่ประทับใจ ไม่พึงพอใจ การนิเทศติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ และการจัดให้มีทีมผู้ประสานงานราย จังหวัด ร้อยละ 22.5 เท่ากัน การบูรณาการงานและผู้รับผิดชอบงาน ทั้งด้านส่งเสริมสุขภาพและพัฒนา อนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละ 20.2 การเปิดโอกาสให้ภาคีเครือข่ายทุกภาค ส่วนที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมกิจกรรม ร้อยละ 18.2 หนังสือราชการที่ประสานพื้นที่ระบุชื่อ และหมายเลขโทรศัพท์ผู้รับผิดชอบ โดยตรง ร้อยละ 14.7

การปรับปรุงช่องทาง / วิธีการ สื่อสารของศูนย์ฯ การเปิดช่องทางบน Web site ศูนย์ฯ ให้สามารถสอบถามข้อมูล หารืองาน ได้สะดวก ร้อยละ 63.5 การมีโทรศัพท์สายตรงถึงกลุ่มวิชาการ โดยไม่ผ่านโอเปอร์เรเตอร์ ร้อยละ 59.0 การแจ้งชื่อผู้รับผิดชอบงานพร้อมรูป ถ่ายเบอร์โทรศัพท์สายตรงและมือถือ ให้พื้นที่ทราบ ร้อยละ 52.0

กิจกรรมที่ศูนย์ฯ ควรดำเนินการในปี 2553 เพื่อบริการวิชาการ การออกชี้แจงนโยบาย แนวทางการ ดำเนินงานตั้งแต่ปีงบประมาณ ร้อยละ 71.0 การส่งนักวิชาการออกพื้นที่เพื่อเป็นพี่ เลี้ยงให้คำปรึกษาแนะนำและเสริม ศักยภาพเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 19.5 การจัดเวทีเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ รับฟังข้อเสนอแนะจากภาคีเครือข่าย ร้อยละ 5.3