การดำเนินงานปีงบประมาณ ๒๕๕๘ สำนักบริหารเงินทุน นายจิรศักดิ์ เงินเส็ง ผู้อำนวยการสำนักบริหารเงินทุน
๑. การช่วยเหลือสมาชิกประสบอุทกภัย ปี ๒๕๕๔ (ปีที่ ๓) งานนโยบายภาครัฐ ๑. การช่วยเหลือสมาชิกประสบอุทกภัย ปี ๒๕๕๔ (ปีที่ ๓) - เบิกจ่ายชดเชยปี ๒๕๕๕ – ๒๕๕๗ - เบิกจ่ายปี ๑,๒ จำนวน ๑,๔๔๓.๖๗๗ ล้านบาท - ปี ๓ กรมฯได้กันเงินเหลื่อมปี ๗.๔๖๖ ล้านบาท และได้จัดสรรให้จังหวัดเบิกจ่าย - กรมฯ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณรายจ่ายงบกลาง จำนวน ๒๐๓.๙๐๗ ล้านบาท ขณะนี้ผ่านการอนุมัติ และรอการจัดสรร เพื่อจ่ายชดเชยดอกเบี้ยอุทกภัย ๒๕๕๔ ปีที่ ๓
๒. โครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยฯ มติ ครม. เห็นชอบโครงการพักหนี้ฯ เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๕๖ - เห็นชอบกรอบวงเงิน ๓ ปี ๓,๖๘๔.๗๑๔ ล้านบาท - ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ (ปี ๑ ) ๑,๙๖๖.๙๖ ล้านบาท - จ่ายชดเชยดอกเบี้ย ๑,๔๔๕.๘๒๑ ล้านบาท ให้สมาชิก ๗๔๘,๗๒๓ ราย - อบรมกิจกรรมฟื้นฟูอาชีพ ๕๒๑.๑๓๙ ล้านบาท ให้สมาชิก ๘๘,๒๕๓ ราย
โครงการพักหนี้เกษตรกรรายย่อยฯ (ต่อ) แผนขอรับจัดสรรงบประมาณเพื่อชดเชยดอกเบี้ย ปีที ๒ - โอนเปลี่ยนแปลง ๖๑๐.๒๐๘ ล้านบาท อยู่ระหว่างการนำเสนอ ครม.เพื่อพิจารณา - งบประมาณ ปี ๕๘ จำนวน ๘๙.๗๙ ล้านบาท ได้รับอนุมัติจัดสรร ครม. งบปี ๕๘
๓. มาตรการลดดอกเบี้ยเพื่อการผลิตแก่เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี ๒๕๕๗/๕๘ เป้าหมาย สมาชิกสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่ประกอบอาชีพทำนา ปีการผลิต ๒๕๕๗/๕๘ จำนวน ๑,๐๐๐,๐๐๐ ราย ต้นเงินกู้ยืมที่ขอรับการชดเชยดอกเบี้ยไม่เกินรายละ ๕๐,๐๐๐ บาท ได้ลดดอกเบี้ยเงินกู้ในอัตราไม่เกินร้อยละ ๓ ต่อปี เป็นระยะเวลาไม่เกิน ๖ เดือน
เงินทุนในความรับผิดชอบ กองทุนภายนอกกรมฯ (๑) กองทุนสงเคราะห์เกษตรกร โครงการสนับสนุนสินเชื่อเพื่อพัฒนากลุ่มเกษตรกร วงเงิน ๕๐๐ ล้านบาท สิ้นสุดโครงการ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ คงเหลือเงินในบัญชี ๓.๐๕ ล้านบาท - โครงการที่สิ้นสุดแล้ว มีหนี้ค้างชำระกองทุนฯ ๗ โครงการ จำนวน ๔๗๒.๔๐ ล้านบาท คงเหลือเงินในบัญชี ๘.๔ ล้านบาท
(๒) กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร โ โครงการสนับสนุนเงินกู้ให้สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ๒๖ โครงการ วงเงิน ๗,๑๗๓.๔๕ ล้านบาท - ค้างชำระกองทุนฯ ๔๔๓.๖๒ ล้านบาท
(๓) กองทุนปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (FTA) โ โครงการสนับสนุนเงินกู้ยืมและเงินจ่ายขาดให้สหกรณ์ จำนวน ๙ โครงการ วงเงิน ๒๔๗.๐๔ ล้านบาท - ค้างชำระกองทุนฯ ๑๗๖.๖๗ ล้านบาท
1. เงินรายได้ของนิคมสหกรณ์ กองทุนภายในของกรมฯ 1. เงินรายได้ของนิคมสหกรณ์ วงเงิน ๓๒๘ ล้านบาท จ่ายขาดไปแล้ว ๓๙ ล้านบาท เป็นวงเงินในลูกหนี้ ๑๖๒ ล้านบาท คงเหลือเงินสดในบัญชี ๑๒๖ ล้านบาท (๓๘ นิคมสหกรณ์ ใน ๒๒ จังหวัด)
2. กองทุนพัฒนาสหกรณ์ - ให้สหกรณ์กู้ยืมตามแผนงาน/โครงการ ทุนดำเนินงาน ๕,๒๒๒.๗๐ ล้านบาท ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ คณะกรรมการบริหาร กพส. มีมติอนุมัติแผนการบริหารเงิน กพส. เมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๗ ดังนี้ - กรอบวงเงิน ๔,๔๐๐ ล้านบาท แบ่งเป็น - ให้สหกรณ์กู้ยืมตามแผนงาน/โครงการ จำนวน ๒,๗๐๐ ล้านบาท - ให้สหกรณ์กู้เพื่อดำเนินงานตามนโยบาย ๑๔ โครงการ จำนวน ๑,๗๐๐ ล้านบาท
แนวทางการบริหารจัดการเงิน กพส. ของจังหวัด และ พ.ท.1-2 ตามมติ 26 ก.ย.57 ประเด็น หลักเกณฑ์ เดิม หลักเกณฑ์ ใหม่ การพิจารณากลั่นกรองแผนงาน/โครงการที่สหกรณ์ขอกู้ ทุกสัญญารวมกันไม่เกิน 5 ล้านบาท สัญญาละไม่เกิน 5 ล้านบาท การขอไกล่เกลี่ยคดีและการประนีประนอมหนี้ก่อนพิพากษา ทุนทรัพย์พิพาทไม่เกิน 2 ล้านบาท ทุนทรัพย์พิพาทไม่เกิน 5 ล้านบาท องค์ประกอบอนุกรรมการ ผู้แทนสภาเกษตร ประธานสภาเกษตร
แนวทางการบริหารจัดการเงิน กพส. ของจังหวัด และ พ. ท แนวทางการบริหารจัดการเงิน กพส. ของจังหวัด และ พ.ท.1-2 กรณี หลังคำพิพากษา ด้วยมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร กพส. เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2557 ได้มีมติเห็นชอบให้กำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาสหกรณ์ลูกหนี้กรณีหลังศาลพิพากษา โดยที่ประชุมได้กำหนดแนวทางไว้ ดังนี้ การเจรจาประนีประนอมหนี้หลังศาลพิพากษา หมายถึง การผ่อนปรนการชำระหนี้ตามสัญญาภายหลังศาลได้มีคำพิพากษาให้คดีถึงที่สุดแล้ว และได้ออกหมายบังคับคดีกับสหกรณ์และผู้ค้ำประกันแล้ว โดยมีหลักเกณฑ์ ดังนี้
แนวทางการบริหารจัดการเงิน กพส. ของจังหวัด และ พ. ท แนวทางการบริหารจัดการเงิน กพส. ของจังหวัด และ พ.ท.1-2 กรณี หลังคำพิพากษา หลักเกณฑ์ 1. กรณีสหกรณ์ยังดำเนินธุรกิจ หรือหยุดดำเนินธุรกิจ ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข ดังนี้ สหกรณ์ และ/หรือ ผู้ค้ำประกัน ได้ชำระหนี้ ต้นเงินกู้ หรือดอกเบี้ย หรือค่าปรับ หรือดอกเบี้ยปรับ นับตั้งแต่วันที่ศาลมีคำพิพากษา รวมกันเกินกว่าต้นเงินกู้ตามคำพิพากษา ผู้มีอำนาจอาจพิจารณายกเว้นดอกเบี้ยและ/หรือค่าปรับ และ/หรือดอกเบี้ยปรับเฉพาะที่เกิดขึ้นตามคำพิพากษาได้บางส่วนหรือทั้งหมด
อำนาจการพิจารณาอยู่ที่ คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้ กพส. แนวทางการบริหารจัดการเงิน กพส. ของจังหวัด และ พ.ท.1-2 กรณี หลังคำพิพากษา หลักเกณฑ์ 2. กรณีเลิกสหกรณ์ และอยู่ระหว่างการชำระบัญชี ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไข ดังนี้ สหกรณ์ และ/ หรือผู้ค้ำประกันได้ชำระหนี้ต้นเงินกู้ หรือดอกเบี้ย หรือค่าปรับ หรือดอกเบี้ยปรับ ก่อนและหลังศาลมีคำพิพากษา รวมกันเกินกว่าวงเงินกู้ยืมตามสัญญา ผู้มีอำนาจอาจพิจารณายกเว้นดอกเบี้ยและ/หรือค่าปรับ และ/หรือดอกเบี้ยปรับได้บางส่วนหรือทั้งหมด อำนาจการพิจารณาอยู่ที่ คณะอนุกรรมการพิจารณาเงินกู้ กพส. กรมส่งเสริมสหกรณ์ ตามคำสั่งคณะกรรมการบริหาร กพส. ที่3/2557 ลว 29 ก.ย.57