ประเด็นข้อสังเกต แผนพัฒนาและแผนปฏิบัติราชการประจำปี 2553 และการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2553
1. สรุปวงเงินงบประมาณปี 2553 กลุ่มจังหวัด / จังหวัดงบประมาณปี 2553ปี 2553 เพิ่ม / ลด ตาม พ.ร.บ.คำขอ (ก. น.จ.) งปม. (3,300 ลบ.) เงินกู้ SP2 รวมจากปี 2552จากคำขอ กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก งบประมาณกลุ่มจังหวัด งบประมาณจังหวัด ) จันทบุรี ) ชลบุรี ) ระยอง ) ตราด กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก (หน่วย : ล้านบาท)
2. แผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี 2553 ข้อสังเกต 1. แผน 4 ปี และแผนประจำปี ยังไม่ครอบคลุมทุกแหล่งเงิน 2. ประมาณการวงเงินของแผน 4 ปี ยังไม่สะท้อนการแก้ปัญหา ของแต่ละยุทธศาสตร์ 3. เป็นโครงการขนาดเล็ก กระจายหลายหน่วยงาน 4. เป็นภารกิจประจำซ้ำซ้อนกับงานของ function
ข้อสังเกต 5. ข้อมูลพื้นฐานโครงการไม่สมบูรณ์ครบถ้วน ขาดรายละเอียด วิธีดำเนินงาน ค่าใช้จ่าย 6. แผนกลุ่มจังหวัดเดิมขอมาวงเงินต่ำกว่ากรอบและโครงการ ขนาดใหญ่เกินไป 7. โครงการกลุ่มจังหวัดยังไม่เป็นโครงการบูรณาการอย่างแท้จริง 8. ตัวแปรที่ใช้กำหนดกรอบวงเงินของแต่ละจังหวัด/กลุ่มจังหวัด หลายฝ่ายเห็นว่ายังไม่เหมาะสม 2. แผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี 2553 (ต่อ)
ข้อเสนอแนะ 1. จัดทำให้ครอบคลุมทั้ง function อปท. เอกชน โดยมีเจ้าภาพ ในการประชุมชี้แจงระดับนโยบายในแต่ละภาคส่วน 2. ปรับการประมาณการค่าใช้จ่ายแผน 4 ปี ในแต่ละปีให้เหมาะสม สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัด 3. บูรณาการโครงการโดยมีเจ้าภาพหลัก มีหน่วยสนับสนุนร่วมดำเนินงาน 4. ควรเป็นโครงการที่มีจุดเด่นชัดเจน แก้ไขปัญหาฉุกเฉิน เติมเต็มส่วนขาด เน้นยุทธศาสตร์หลักที่เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขัน 2. แผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี 2553 (ต่อ)
ข้อเสนอแนะ 5. จัดทำรายละเอียดวิธีการดำเนินการ ค่าใช้จ่าย ให้ครบถ้วน 6. การประมาณการค่าใช้จ่ายของแผน ควรคำนึงถึงวงเงิน ในปีที่ผ่านมาและควรมีขนาดวงเงินโครงการที่เหมาะสม เพื่อมิให้เสียโอกาสการพัฒนา 7. บูรณาการเชื่อมโยงเป้าหมายภายในกลุ่มจังหวัด โดยใช้ เครื่องมือ value clain 8. ทบทวนหลักเกณฑ์ให้มีการกระจายงบประมาณที่เป็นธรรม มากขึ้น และอาจนำคุณภาพของแผนมาเป็นตัวแปรร่วม 2. แผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการ ประจำปี 2553 (ต่อ)
3. การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ ข้อสังเกต 1. ข้อมูลพื้นฐานโครงการไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ และไม่ได้นำเข้า ระบบ e-budgeting 2. รายละเอียดค่าใช้จ่ายตามงบรายจ่ายไม่เป็นไปตามหลักการจำแนก ประเภทรายจ่าย 3. ขาดความเข้าใจในการจัดทำคำขอและบันทึกข้อมูลใน ระบบ e-budgeting 4. การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์จังหวัดเข้าสู่ยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณยังไม่ถูกต้อง 5. กำหนดทะเบียนรายการภายใต้งบรายจ่ายมากเกินความจำเป็น 6. ราคางานต่อหน่วยมีความหลากหลาย
ข้อเสนอแนะ 1. หน่วยดำเนินงานสนับสนุนการจัดทำรายละเอียด วิธีการดำเนินงาน แบบรูปรายงาน ประมาณราคา ตามคู่มือคำขอที่สำนักงบประมาณ กำหนด 2. จำแนกประเภทรายจ่ายให้ถูกต้อง หลีกเลี่ยงโครงการในลักษณะ งบรายจ่ายอื่น เงินทุนหมุนเวียนและเงินอุดหนุน 3. เพิ่มระยะเวลาการอบรมการบันทึกข้อมูลลง e-budgeting 4. มีการประสานงานระหว่างจังหวัดกับสำนักงบประมาณให้มากขึ้น 5. พยายามใช้ทะเบียนรายการกลางของสำนักงบประมาณ 6. ใช้ราคางานตามระเบียบและเกณฑ์ราคางาน ที่หน่วยงานกำหนด เช่น กรมบัญชีกลาง กรมโยธาธิการ กรมทางหลวงชนบท กรมชลประทาน ฯลฯ 3. การจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณ พ.ศ (ต่อ)
ขอขอบคุณ... 9 กลุ่มการจัดการงบประมาณ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด และการบูรณาการในการบริหาร ราชการในต่างประเทศ