สรุปการประชุมกลุ่มย่อยที่ 1 การป้องกันควบคุมโรคติดต่อเรื้อรัง: เอดส์และวัณโรค แผนและการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร (HRP, HRD, PMS) ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล สนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน (Multi-sectoral cooperation) วันที่ 7 พฤศจิกายน 2557
Output ของการประชุมกลุ่ม โรคและภัยสุขภาพเป้าหมาย ค่าเป้าหมายรายเขตสุขภาพ จังหวัด/ อำเภอ/ Setting เสี่ยงต่อการเกิดโรคและภัย สุขภาพในข้อ 1 เครือข่ายหลักในการดำเนินงานเพื่อลดปัญหาโรคและภัย สุขภาพของจังหวัด/ อำเภอ/ Setting เสี่ยงในข้อ 2 มาตรการและแนวทางสำคัญที่มีข้อมูลอ้างอิง (Evidence based) กิจกรรมหลักและผังกำกับการดำเนินงาน (Gantt Chart) ของ สน. สบ. สคร. กอง เพื่อให้เครือข่ายหลักข้อ 3 ร่วมดำเนินการ แนวทางการติดตามประเมินผล เช่น แบบประเมิน, การสุ่ม สำรวจ เป็นต้น และ ระยะเวลาดำเนินการ
การป้องกันควบคุมโรคติดต่อเรื้อรัง: เอดส์ situation/strategy setting เครือข่าย มาตรการ M&E ค่าเป้าหมาย จำนวนผู้ป่วยติดเชื้อมีแนวโน้มลดลง การได้รับยาต้านไวรัสเพิ่มขึ้น แต่ยังต่ำกว่าความต้องการการรับยา ความชุกในการติดเชื้อ HIV ในกลุ่ม MSM สูง อัตราการใช้ถุงยางในกลุ่มเยาวชนต่ำ ผู้ติดเชื้อเข้าสู่ระบบการรักษาล่าช้า อัตราตายยังคงสูง ยังขาดข้อมูลเรื่องการตีตรา ผู้ป่วยที่ไม่เข้าถึงยาต้านไวรัส, กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย กลุ่มพนักงานบริการ กลุ่มแรงงานข้ามชาติ ผู้ต้องขัง สสจ., รพ, สพฐ., กรมอนามัย, สท.พม., อปท., ก.กลาโหม, ก.มหาดไทย (Joint KPI) NGO 1.ด้านการรักษา มาตรการที่ 1 สร้างความต้องการการใช้บริการและลดการตีตรา มาตรการที่ 2 พัฒนารูปแบบบริการและคุณภาพของการป้องกัน การปรึกษา ฯ ฐานข้อมูล NAP+ RAC จำนวนผู้ติดเชื้อHIVสามารถเข้าถึงการรักษาด้วยยาต้านไวรัส เพิ่มขึ้นจากปี 2557 (8,000 คน) 2. ด้านการป้องกัน มาตรการที่ 3 การส่งเสริมและพัฒนาการบริหารจัดการถุงยางอนามัยและสารหล่อลื่น มาตรการที่ 4 การพัฒนา สนับสนุนนโยบาย กฎหมาย และสภาพแวดล้อมที่มีความสำคัญต่อการดำเนินงาน รายงานการสนับสนุนถุงยางอนามัย (ตอ 100) ร้อยละของประชากรเยาวชนใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดใน 12 เดือนที่ผ่านมา (ร้อยละ70) 3. ด้านการจัดการข้อมูล มาตรการที่ 5 การพัฒนาข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์และการติดตามประเมินผล 24 + 1 จังหวัด (เขตละ 2 จังหวัด)
ตัวชี้วัดผลลัพธ์ระดับกรม ค่าเป้าหมายการดำเนินงานปี 2558 เป้าหมายลดโรคระดับกรม กลุ่มเป้าหมาย : กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย กลุ่มพนักงานบริการ กลุ่มผู้ใช้ยาด้วยวิธีฉีด และแรงงานข้ามชาติ ผู้ต้องขัง คู่ผลเลือดต่าง พื้นที่เป้าหมาย : ทุกจังหวัด : พื้นที่เร่งรัด 33 จังหวัด (กรณีงบฯจำกัด) ตัวชี้วัดผลลัพธ์ระดับกรม ค่าเป้าหมายการดำเนินงานปี 2558 ร้อยละของประชากรเยาวชนใช้ถุงยางอนามัยเมื่อมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดใน 12 เดือนที่ผ่านมา 70 2. จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ (คน) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้า (กระจายรายเขต) 8,000 3.อัตราป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เท่ากับค่ามัธยฐาน ย้อนหลัง 5 ปี
จำนวนรวมทั่วประเทศ(คน) แยกรายเขตบริการสุขภาพ ตัวชี้วัดความสำเร็จ ค่าเป้าหมาย พื้นที่ดำเนินการ ตัวชี้วัดความสำเร็จ : จำนวนผู้ติดเชื้อHIVสามารถเข้าถึงการรักษาด้วยยาต้านไวรัส เพิ่มขึ้นจากปี 2557 (คน) ค่าเป้าหมาย จำนวนรวมทั่วประเทศ(คน) แยกรายเขตบริการสุขภาพ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 กทม. 8,000 800 350 300 900 650 1,000 500 400 1,300 พื้นที่ดำเนินการ : 77 จังหวัด
การอภิปราย Joint KPI เรื่องเอดส์: การพิจารณาตัวชี้วัดความสำเร็จระดับกระทรวงฯ (สป.) กรมควบคุมโรค และก.มหาดไทย (เพิ่มค่าเป้าหมาย) ความชัดเจนของการติดตาม ประเมินผลงานเอดส์ในระดับ สคร. สำนักฯ สนับสนุนการดำเนินงานให้ สคร.ด้าน Baseline สคร. สามารถใช้ข้อมูลเอดส์จาก Website ของ สปสช. เพื่อวางแผนการ ดำเนินงาน การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย (Setting) ที่สำคัญและจำเป็นต้องดำเนินการ ให้ความสำคัญกับการตรวจทางห้อง LAB ทั้ง 3 ขั้นตอน และตรวจซ้ำทุก 1 ปี เพื่อพิจารณาประสิทธิภาพของยา เน้นการ Service ให้ สคร. เข้มแข็ง (โดยเฉพาะ HIVQUAL และ RTAC) จัดเวทีสื่อสารชี้แจงด้าน Prevention งานเอดส์ให้ สคร. เพื่อการ ดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพ
การป้องกันควบคุมโรคติดต่อเรื้อรัง: วัณโรค situation/strategy setting เครือข่าย มาตรการ M&E ค่าเป้าหมาย อัตราความสำเร็จของการรักษาวัณโรคต่ำกว่าเป้าหมาย (ร้อยละ 87) และอัตราการเสียชีวิตสูง (7.4%) การเข้าถึงฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ป่วยวัณโรครายบุคคลและการนำไปใช้ประโยชน์ต่ำ ผู้ป่วยที่มีประวัติการรักษามาก่อน มีผลทดสอบความไวต่อยา 38.2% (เป้าหมาย 90%) ห้อง LAB สคร. ยังผ่านการรับรองคุณภาพไม่ครบทุกแห่ง H-QTBC ผ่านเกณฑ์ <70% 3 อำเภอแรกของทุกจังหวัดที่มีความชุกวัณโรคสูง LABสคร. สคร., สสจ., โรงพยาบาล, มหาวิทยาลัย, เรือนจำ, กทม กลยุทธ์ “ค้นให้พบ จบด้วยหาย” 3 มาตรการ มาตรการ1 ค้นหาวัณโรคเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง มาตรการ2 พัฒนามาตรฐานLAB มาตรการ 3 พัฒนาคุณภาพระบบบริการ ดูแลรักษา (TB care) ติดตามจากระบบบันทึกข้อมูลวัณโรครอบ 3 เดือน บนเครือข่าย (Web Entry of Aggregated TB Data) www.tbthailand.org/pmdt/ สำรวจประเมิน LAB และรพ โรงพยาบาลผ่านมาตรฐานคุณภาพการดูแลรักษาวัณโรค (H-QTBC) ร้อยละ 70
การป้องกันควบคุมวัณโรคเชิงรุกในพื้นที่เป้าหมาย ปี 58 ค่าเป้าหมายการดำเนินงาน การป้องกันควบคุมวัณโรคเชิงรุกในพื้นที่เป้าหมาย ปี 58 ร้อยละของโรงพยาบาลที่ผ่านมาตรฐานคุณภาพการดูแลรักษา วัณโรค (Hospital Quality of TB Care : H-QTBC) ผลงาน/ค่าเป้าหมาย รายเขตสุขภาพ (ร้อยละ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ภาพ รวม ผลงาน 57 70.0 80.0 36.8 25.9 56.7 42.9 64.7 40.7 78.9 65.0 39.3 73.1 55.0 เป้าหมาย 58 (แบบ 1)* 73.5 84.0 42.4 29.8 62.3 49.3 71.2 46.9 82.9 71.5 45.2 73.6 61.3 เป้าหมาย 58 (แบบ 2) 90.0 46.8 35.9 66.7 52.9 74.7 50.7 88.9 75.0 83.1 66.6 เป้าหมาย 58 (แบบ 3) 70 หมายเหตุ : เสนอ แบบ 1,2 และ 3 ให้ สคร. เลือก * ค่าเป้าหมายในแต่ละ เขตสุขภาพ. จะพิจารณาปรับตามผลการประเมินในปี งปม. 57 (แบบ 1) โดยค่าเป้าหมายเพิ่ม 5% จากผลการประเมินปี 57 ในกลุ่มที่มีผลการประเมิน ≥70% 10% จากผลการประเมินปี 57 ในกลุ่มที่มีผลการประเมิน 50-69% 15% จากผลการประเมินปี 57 ในกลุ่มที่มีผลการประเมิน ≤ 50%
การอภิปราย การตกลงค่าเป้าหมายระหว่างสำนักและสคร ในเบื้องต้นใช้ค่าเป้าหมาย “โรงพยาบาลผ่านมาตรฐานคุณภาพการดูแล รักษาวัณโรค (H-QTBC) ร้อยละ 70” สำหรับการดำเนินงานปี 2558 กรณีการย้ายถิ่นของผู้ป่วย TB ส่งผลให้การติดตามการรักษาไม่ต่อเนื่อง การประสานขอความร่วมมือจากโรงพยาบาลเอกชนและคลินิกเพื่อรายงาน จำนวนผู้ป่วย การพัฒนาการรายงานข้อมูลผ่าน Tablet การสนับสนุน PCR แก่ สคร. เพื่อให้สามารถตรวจ LAB ได้หลายโรค และ การพัฒนา LAB TB เพื่อผู้ป่วย MDR ในระดับสคร. การกำหนดกลุ่มเป้าหมาย (Setting) หรือ Hot spot ที่สำคัญและ จำเป็นต้องดำเนินการ สนับสนุนให้มีการรายงานข้อมูลผ่าน www.tbthailand.org/pmdt/
แผนและการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร กรมควบคุมโรค (HRP, HRD, PMS) situation/strategy setting เครือข่าย มาตรการ M&E ค่าเป้าหมาย -วิเคราะห์ Gap ด้านการวางแผนและบริหารกำลังคน , การพัฒนากำลังคนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง, การจัดทำCareer path, การหาทายาททดแทน, ความผาสุกและแรงจูงใจ, ความพึงพอใจของผู้รับบริการ, ฐานข้อมูล, การส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และปราบปรามการทุจริต HRP : ทุกหน่วยงาน HRD : 1) รองผู้อำนวยการ/หัวหน้ากลุ่ม/ผู้รับผิดชอบแผนงานป้องกันควบคุมโรคจากหน่วยงานส่วนกลางและภูมิภาคที่ได้รับการคัดเลือก 2) บุคลากรที่มีความพร้อมสำหรับการพัฒนาในต่างประเทศ HRM : บุคลากรกรมควบคุมโรค ภายนอกกรม :สำนักงาน ก.พ./สำนักงาน ก.พ.ร./สงป./กรมบัญชีกลาง/ สธ.ฯลฯ ภายในกรม : ส.คกก.ผู้ทรงฯ - กองแผนงาน/กพร./กองคลัง/สลก./หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มพัฒนาองค์กรของหน่วยงาน/กลุ่มบริหารทั่วไปของหน่วยงาน 1. การวิเคราะห์อัตรากำลัง 2. การจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน (Job Description) 3. การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรเพื่อสนับสนุนการดำเนินการป้องกันควบคุมโรค 4.พัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล (HRM) ให้ได้มาตรฐาน โปร่งใส เป็นธรรม 1. การติดตามจากการประชุมคณะกรรมการ 2. การรายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามระบบที่กรมกำหนดทุกเดือน / ทุกไตรมาส 3. การสำรวจความคิดเห็น / การประเมินผลการดำเนินงานจากผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การดำเนินงานบริหารทรัพยากรบุคคล และการพัฒนาสมรรถนะบุคลากรกรมควบคุมโรคมีประสิทธิภาพ
แผนการดำเนินงานบริหารทรัพยากรบุคคล ปีงบประมาณ 2558 โครงการหลักที่ 13 HRP HRD PMS เป้าหมาย หน่วยงาน ในกรม โครงการ / กิจกรรม (ต.ค. – ธ.ค.57) งบประมาณ พัฒนาบุคลากรกรม เพื่อตอบสนอง ภารกิจกรม พัฒนาระบบ HR เพื่อยกระดับคุณภาพการดำเนินงาน เข้าร่วมกิจกรรมฯ วิเคราะห์/ทบทวน/เสนอแนะ/กำหนดแนวทาง ดำเนินงาน สรุปรายงานผล 1) จัดทำแผนกลยุทธ์การบริหารทรัพยากรบุคคลกรมฯ ปี 58-62 (Action Plan) 400,000 2) โครงการจัดทำแบบบรรยายลักษณะงาน (JD) 370,000 3) โครงการสร้างภาวะผู้นำด้านการควบคุมโรค (LDC) 1,685,000 4) โครงการพัฒนาศักยภาพผู้บริหารหน่วยงาน (CEO) 801,000 5) โครงการพัฒนาผู้นำด้านการบริหารงานป้องกันควบคุมโรค (EDC) 1,148,500 6) โครงการพัฒนาสมรรถนะข้าราชการบรรจุใหม่ 250,000 7) โครงการจัดทำแผนพัฒนาความก้าวหน้าในสายอาชีพ (CDP) 98,500 8) ทบทวน /จัดทำหลักเกณฑ์ฯ PMS ปี 58 / ปรับปรุงและขยายผล PMS แบบ online (หน่วยงานนำร่อง) 90,000 รวม 4,843,000 (51.22%) โครงการ 9,454,965
รายละเอียดตัวชี้วัดความสำเร็จและค่าเป้าหมาย ร้อยละของบุคลากรของกรมควบคุมโรคมีสมรรถนะตามเกณฑ์ที่กำหนด Competency (ร้อยละ 80) จำนวนบุคลากรที่ผ่านหลักสูตร LDC (29 คน) จำนวนบุคลากรที่ผ่านหลักสูตร EDC (30 คน)
การอภิปราย การเตรียมสมรรถนะของบุคลากรเพื่อการศึกษาต่อในต่างประเทศ การจัดทำ Job Description จำเป็นต้องพิจารณาจากตำแหน่งงาน ไม่ควรเป็น การนำงานประจำมาเขียนเท่านั้น ต้องมีการวิเคราะห์ FTE เพื่อพิจารณาสิ่งที่เป็นอยู่และสิ่งที่ควรจะเป็น การพัฒนาแนวทาง Core competency ที่เหมาะสม เพื่อนำไปใช้ ประโยชน์ได้ เพิ่มการวิเคราะห์ Job Analysis (JA) และ Job Spec (JS) ก่อนการ วิเคราะห์ JD พัฒนาระบบ DPIS ของกองการเจ้าหน้าที่เพื่อสนับสนุนระบบ Human resource information system (HRIS)
กลุ่มคุ้มครองจริยธรรม การสร้าง ธรรมาภิบาล กรมควบคุมโรค การจัดซื้อจัดจ้าง ศูนย์ราคากลาง online ระบบควบคุมภายใน ระบบตรวจสอบภายใน เครือข่ายพัสดุ การบริหารงานบุคคล หลักเกณฑ์การแต่งตั้งโยกย้ายที่ โปร่งใส เป็นธรรม ระบบประเมินผู้บริหาร การพัฒนาจริยธรรม ให้ทุกหน่วยงานในสังกัดจัดให้มีกิจกรรมส่งเสริมค่านิยมหลักของกรมควบคุมโรค และ 12 ค่านิยมหลักของคนไทย กลุ่มคุ้มครองจริยธรรม ศูนย์พัฒนากฏหมาย หลักสูตรพัฒนาผู้บริหาร กรรมการจิตตปัญญา
ระบบบริหารจัดการบนหลักธรรมาภิบาล situation/strategy setting เครือข่าย มาตรการ M&E ค่าเป้าหมาย 1.กลุ่มพัฒนาองค์กร 2.กลุ่มยุทธศาสตร์และพัฒนาองค์กร ภายนอกกรม :สำนักงาน ก.พ./สำนักงาน ก.พ.ร./สงป./กรมบัญชีกลาง/ สธ.ฯลฯ ภายในกรม : ส.คกก.ผู้ทรงฯ - กองแผนงาน/กพร./กองคลัง/สลก./หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มพัฒนาองค์กรของหน่วยงาน/กลุ่มบริหารทั่วไปของหน่วยงาน 1.พัฒนาระบบบริหาร และกลไกในการตรวจสอบ ควบคุม และถ่วงดุลการใช้อำนาจให้เหมาะสมชัดเจนมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการจัดซื้อ จัดจ้างที่โปร่งใส 2.ปลูกและปลุกจิตสำนึก ค่านิยมความซื่อสัตย์ รับผิดชอบและต่อต้านการทุจริตในทุกรูปแบบ และสร้างความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการของบุคลากรกรมควบคุมโรค และการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างเคร่งครัด 3.พัฒนาสมรรถนะและขีดความสามารถความรู้ในด้านกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน และการป้องกันการทุจริต - การประเมินผลความพึงพอใจ/ ความรู้ ความเข้าใจ - สรุปผลการดำเนินงาน - ติดตามการรายงานตามยุทธศาสตร์ที่ 6 - รายงานผลการดำเนินงานในระบบ estimates รายไตรมาส ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค (ระดับ 5)
รายละเอียดตัวชี้วัดความสำเร็จและค่าเป้าหมาย 1. ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสของกรมควบคุมโรค (ระดับ 5) การอภิปราย -ส่งเสริมให้หน่วยงานมีการวิเคราะห์งบการเงินของหน่วยงาน นอกจาก การจัดทำบัญชี การรับ-จ่ายเท่านั้น -การปรับรายละเอียดตัวชี้วัดด้านความโปร่งใสให้เหมาะสมกับระดับ สำนัก/สถาบัน/สคร. -ปรับวิธีการประเมินผลให้เป็นเชิงคุณภาพมากขึ้น
สนับสนุนการมีส่วนร่วมขอภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน (Multi-sectoal cooperation) situation/ strategy setting เครือข่าย มาตรการ M&E ค่าเป้าหมาย บูรณาการเข้ากับระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) เพื่อ ป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน พื้นที่เสี่ยง/อำเภอเสี่ยงต่อการเกิดโรคและภัยสุขภาพ ได้แก่ อำเภอที่ผ่านเกณฑ์คุณลักษณะ แต่เกิดโรคระบาด หรือมีอุบัติการณ์สูง อำเภอที่ไม่ผ่านเกณฑ์คุณลักษณะ อำเภอที่สำนัก สถาบัน และ สคร. กำหนดว่าเป็นพื้นที่เสี่ยง กลุ่มงานพัฒนาภาคีเครือข่ายของ สคร. กลุ่มงานควบคุมโรคของ สสจ. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ 2. สื่อสารเชิงรุก 3. พัฒนาศักยภาพการติดตามประเมิน ผลเชิงคุณภาพ 1. ประเมินตนเอง (Self – assessment) 2. สุ่มประเมินผลในอำเภอพื้นที่เสี่ยง (เป้าหมาย) 3. รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานตามแบบรายงาน SAR ในระบบ EstimatesSM ร้อยละของอำเภอที่ผ่านเกณฑ์คุณลักษณะควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน (ร้อยละ 80)
ตัวชี้วัดความสำเร็จและค่าเป้าหมาย หน่วยวัด ปี 57 ปี 58 ปี 59 ปี 60 ปี 61 ร้อยละของอำเภอที่ผ่านเกณฑ์คุณลักษณะควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ร้อยละ 80 90 สคร.1 ( มีอำเภอทั้งหมด 29 อำเภอ) จำนวน 23 26 สคร.2 ( มีอำเภอทั้งหมด 41 อำเภอ) 33 37 สคร.3 ( มีอำเภอทั้งหมด 69 อำเภอ) 55 62 สคร.4 ( มีอำเภอทั้งหมด 62 อำเภอ) 50 56 สคร.5 ( มีอำเภอทั้งหมด 88 อำเภอ) 70 79 สคร.6 ( มีอำเภอทั้งหมด 134 อำเภอ) 107 121 สคร.7 ( มีอำเภอทั้งหมด 100 อำเภอ) สคร.8 ( มีอำเภอทั้งหมด 54 อำเภอ) 43 49 สคร.9 ( มีอำเภอทั้งหมด 47 อำเภอ) 38 42 สคร.10(มีอำเภอทั้งหมด 103 อำเภอ) 82 93 สคร.11(มีอำเภอทั้งหมด 74 อำเภอ) 59 67 สคร.12(มีอำเภอทั้งหมด 77 อำเภอ) 61 69
เกณฑ์การประเมิน “DHS/DC” ปี 2558 คุณลักษณะ คะแนน (ปี 57) 1. มีคณะกรรมการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ - 10 2. มีระบบระบาดวิทยาที่ดีในระดับอำเภอ 40 20 3. มีการวางแผน กำกับติดตามและประเมินผลการควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 4. มีการระดมทรัพยากรหรือการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรูปธรรม 5. มีผลสำเร็จของการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่สำคัญ 60 50 5.1 โรคที่สำคัญตามนโยบายกสธ. 2 เรื่อง เรื่องละ 20 คะแนน 30 5.2 โรคและภัยภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในพื้นที่ 3 เรื่อง เรื่องละ 10 คะแนน รวม 100 หมายเหตุ: คุณลักษณะข้อ 1 ข้อ 3 และข้อ 4 ใช้ผลจากการประเมินผ่านบันไดขั้นที่ 3 ของทุกองค์ประกอบของ รสอ.
การอภิปราย ควรปรับรายละเอียดตัวชี้วัดจากการประเมินกระบวนการ (Process) เป็นตัวชี้วัดเชิงคุณภาพมากขึ้น
Q&A