นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
งานนำเสนองานวิจัย. เรื่อง พฤติกรรมการใช้จ่าย. ของประชาชนในเขตชุมชน
Advertisements

กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
การประชุมมอบนโยบายด้านคุณภาพของนักเรียน
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ครุศาสตรมหาบัณฑิต(การบริหารการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
โมดูล 5 ผู้ใช้และความต้องการสารสนเทศ
การวิจัยในชั้นเรียนด้านอาชีวศึกษา
การวัดเจตคติที่มีต่อวิชาภาษาอังกฤษ
นางสาวณัฏฐณิชา โพธิ์งาม
งานวิจัยการเรียนการสอน การสร้างและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใช้เอกสารประกอบการเรียนการสอน เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจ วิชาการหาข้อมูลทางการตลาด.

การนิเทศภายในของวิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
ศึกษาวิจัยการดำเนินงานโครงการลดจำนวนการออกกลางคันของนักศึกษาวิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์ ปีการศึกษา 2556 นายไพศาล บุญประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
ผู้วิจัย อภิเชษฐ เพ็ชรอินทร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
สาขา การบริหารการศึกษา
รศ. ดร. นิตยา เจรียงประเสริฐ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ดร.สมพงษ์ อัศวริยธิปัติ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลพณิชยการ
ผู้วิจัย นายถนอมศักดิ์ บุญแฟง
ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2556 นางสาวกรรณิการ์ นัยผ่องศรี
ชื่อผู้วิจัย: นางสาวเมธิกา ชาพิมล
จัดทำโดย น.ส. อมรทิพย์ พึ่งเพียร
สำหรับโรงเรียนจัดตั้งใหม่ให้พิจารณาตามความต่อเนื่อง
นางสาว ธันยพัต ภักดี วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการจรัลสนิทวงศ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
โครงการเยี่ยมบ้านนักศึกษาโรงเรียนแลมป์-เทค จังหวัดลำปาง
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
การปรับตัว ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ ๑ โดย นางสาวจิราพร นฤดม วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชล บริหารธุรกิจ (MBAC)
ผลงานวิจัยประเภทพัฒนาสถาบัน
ผลงานวิจัย โดย อ.เอกพงษ์ วรผล.
ผู้วิจัย อาจารย์ณฐกมล พินิจศักดิ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
วิทยาลัยเทคโนโลยีเจริญมิตรพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรบริหารธุรกิจ
วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตรดิตถ์
ผู้วิจัย นาง นิภารัตน์ ทองโคตร กลุ่มวิชาพื้นฐาน
อาจารย์แผนกช่างก่อสร้าง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ชื่อเรื่อง ผู้วิจัย นางศิริพร ไตรเนตร
นายกิจชัย วงศ์ราช วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
ผู้วิจัย นางระเบียบ คุณากร วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิศวกรรม บริหารธุรกิจ
การศึกษาการบริหารงานวิชาการของ วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชยการ
วิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง การวิเคราะห์พฤติกรรมการซื้อของผู้บริโภคในปัจจุบันโดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์ผู้บริโภคของผู้เรียน ระดับประกาศนียบัตร วิทยาลัยเทคโนโลยีพระรามหก.
นางสาวจิตตินัฎฐ์ สุขบัณฑิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา
การนำเสนอผลงานวิจัย ประเภท : วิจัยการเรียนการสอน (ชั้นเรียน)

นางบุญเรือน ศรีเพ็ชร นำเสนอ วิทยาลัยอาชีวศึกษาดุสิตพณิชยการ
คณะผู้จัดทำ นาย ชาญชัย คุณยศยิ่ง นาย จีรศักดิ์ ฝั่งมณี
นายอนุพงศ์ อินทนิด วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ จังหวัดลำพูน
ผู้วิจัย อาจารย์วราพร จันทร์แจ่มหล้า
ผู้วิจัย อาจารย์เรณู เอกลักษณ์ไพศาล
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้โปรแกรมพิมพ์ดีดอังกฤษด้วยคอมพิวเตอร์ที่มีผลต่อการมองแป้นขณะพิมพ์ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1)
การตระหนักในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การสนับสนุนขององค์กร และศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน ของครูวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา.
“ การแลกเปลี่ยน บุคลากร ” ทางเลือกของการจัดการความรู้ใน สถานศึกษาเอกชนประเภทอาชีวศึกษา กรณีศึกษา : วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูกับ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรีบริหารธุรกิจ.
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
ผลงานวิจัยพัฒนาสถาบัน
ผลการใช้ CAI กับแบบเรียนตาม ศักยภาพในการสอนนักศึกษาซ่อม เสริมในรายวิชาธุรกิจทั่วไป ประจำภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2553 แผนกพณิชยการฯ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลาน.
Eastern College of Technology (E.TECH)
สภาพแวดล้อมภายในวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
รายงานผลการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่ ผู้วิจัย อาจารย์จิตรสนา พรมสุทธิ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
นางสาวสายพิน มโนศักดิ์เสรี โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย
การศึกษาความพึงพอใจในการ ปฏิบัติงานของบุคลากร โรงเรียนบริหารธุรกิจอยุธยา A Study Of Job Satisfaction Of Ayutthaya Business Administration School Employees.
ผู้วิจัย ลัดดา เสาร์เป็ง
วิจัยในชั้นเรียน ผลการใช้กิจกรรมกลุ่มเพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ในรายวิชาช่างอุตสาหกรรม แผนก ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ ประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย เรื่อง การพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา เพื่อแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย นางรสนันท์ มานะสุข ผู้วิจัย วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย

ปัญหาการวิจัย 1.พฤติกรรมหนีเรียน 2.พฤติกรรมการมาเรียนสาย 3.พฤติกรรมการขาดเรียน 4.พฤติกรรมเที่ยวเตร่ยามวิกาล มั่วสุม 5.พฤติกรรมการเสพสารเสพติด 6.พฤติกรรมการทะเลาะวิวาท 7.ปัญหาด้านจิตใจ

วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา ในการแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย

กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรที่จะศึกษา ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน/นักศึกษา พฤติกรรมของนักเรียน/นักศึกษา กรอบแนวคิดในการวิจัย 1. ขอบเขตด้านประชากร 1.1 คณะผู้บริหาร จำนวน 5 คน 1.2 ครูที่ปรึกษา จำนวน 45 คน 1.3 ผู้แทนนักเรียน จำนวน 50 คน 1.4 ผู้แทนผู้ปกครอง จำนวน 50 คน

2. ขอบเขตด้านเนื้อหา เพื่อแก้ไขพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ของ นักเรียน -นักศึกษา 2.1 การบริหารจัดการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2.1.1 การบริหารจัดการระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2.1.2 การทบทวนการดำเนินงาน 2.1.3 การสนับสนุนการดำเนินงาน 2.2 การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2.2.1 การพัฒนาครูและบุคลากร 2.2.2 การดำเนินงานของครูและบุคลากรในสถานศึกษา 2.2.3 การประสานงานและสร้างความร่วมมือการดำเนินงานกับผู้ปกครอง 2.2.4 การพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศเกี่ยวกับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา 2.2.5 กระบวนการดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา

สรุปผลการวิจัย ตอนที่ 1 สภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ของผู้บริหารและครูที่ปรึกษา พบว่า มีความเข้าใจในระบบดูแลช่วยเหลือเป็นอย่างดีและต้องการอบรมเพิ่มความรู้เรื่องระบบการการดูแลช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษาเพิ่มมากขึ้น 1.2 สภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ของนักเรียน นักศึกษา พบว่า ได้ทราบเรื่องระบบ การดูแลช่วยเหลือมาจากครูที่ปรึกษา 1.3 สภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ของผู้แทนผู้ปกครอง พบว่า มีความเข้าใจในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษาโดย จากการเยี่ยมบ้าน

ตอนที่ 2 ความคิดเห็นต่อสภาพการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา ตอนที่ 2 ความคิดเห็นต่อสภาพการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา 1.ผู้บริหารและครูที่ปรึกษา ด้านการวางแผนการดำเนินงาน พบว่า มีการจัดเตรียม บุคลากรเพื่อ ดำเนินงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือมากที่สุด ด้านการสนับสนุนการดำเนินงาน พบว่า ผู้บริหารให้ขวัญกำลังใจเสริม แรงจูงใจ แก่ครูมากที่สุด ด้านพัฒนาครูและบุคลากร พบว่า มีการว่างแผนพัฒนาครูที่ปรึกษาและ บุคลากร ที่เกี่ยวข้องมากที่สุด - ด้านการดำเนินงานของครูและบุคลากรในสถานศึกษา พบว่า ครูที่ปรึกษามี การแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจและดำเนินการดูแลช่วยเหลืออย่างเป็น ระบบและต่อเนื่องมากที่สุด

-ด้านการประสานงานและความร่วมมือ การดำเนินงานกับผู้ปกครอง พบว่า มีการประสานสัมพันธ์กับผู้เกี่ยวข้องในวิทยาลัยและผู้ปกครองมากที่สุด -ด้านการพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ พบว่า สถานศึกษามีการจัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบมากที่สุด -ด้านผลการปฏิบัติงานตามระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา พบว่า มีการส่งต่อนักเรียน นักศึกษา ให้ผู้เกี่ยวข้องในวิทยาลัยเพื่อช่วยเหลือต่อมากที่สุด

2 . นักเรียน นักศึกษา ในภาพรวมเกี่ยวกับสภาพการบริหารและดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือ เพื่อการแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ที่ไม่พึงประสงค์ พบว่า พฤติกรรมที่มีปัญหามากที่สุดคือ พฤติกรรมด้านการมาเรียนสายและด้านการขาดเรียน 3. ผู้แทนผู้ปกครอง ในภาพรวมเกี่ยวกับสภาพการบริหารและดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือเพื่อการแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ พบว่าทางวิทยาลัยมีการแจ้งและออกเยี่ยมบ้านเพื่อพบผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง

ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน นักศึกษา เพื่อแก้ไขพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน นักศึกษาวิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย จากผลการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานพบว่า ผู้บริหาร ครูที่ปรึกษา ผู้แทนนักเรียน และผู้แทนผู้ปกครองมีความเข้าใจในระบบงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษาเป็นอย่างดี และสามารถติดตามดูแลนักเรียนนักศึกษาไม่ให้ออกกลางคันและจบการศึกษาได้ตามเป้าหมายที่วางไว้