การฝึกงาน องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย อ. หนองวัวซอ จ การฝึกงาน องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศไทย อ.หนองวัวซอ จ. อุดรธานี
จัดทำโดย 1. นางสาว จุฑาทิพย์ จันตะ รหัส 5212401324 1. นางสาว จุฑาทิพย์ จันตะ รหัส 5212401324 2. นางสาว ปวีณา คำถาวร รหัส 5212401621 3. นางสาว รัตน์ประภา บุญจอง รหัส 5212401841 4. นางสาว วนิดา จันทร์สอน รหัส 5212401850 นักศึกษาคณะเกษตรศาสตร์ สาขาสัตวศาสตร์ ชั้นปีที่3 มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ระยะการฝึกงานระหว่าง วันที่ 19 มีนาคม 2555 – วันที่ 28 เมษายน 2555
ที่ตั้งสถานที่ฝึกงาน ศูนย์ส่งเสริมกิจการโคนมหนองวัวซอ หมู่ 6 บ้านโนนสมบูรณ์ ตำบลหนองอ้อ อำเภอหนองวัวซอ จังหวัดอุดรธานี 41220
เป็นการบริหารจัดการในรูปแบบของรัฐวิสาหกิจ ลักษณะธุรกิจ เป็นการบริหารจัดการในรูปแบบของรัฐวิสาหกิจ
ประวัติสถานประกอบการ ศูนย์ส่งเสริมกิจการโคนมหนองวัวซอ ก่อตั้งเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2553 ซึ่งเกิดจากความต้องการของสมาชิกผู้เลี้ยงโคนม อ.ส.ค. โดยมีสมาชิกทั้งหมด 38ฟาร์ม มีเจ้าหน้าที่ 2 คน จำนวนรับน้ำนมดิบประมาณ 4ตันต่อวัน เก็บรักษาน้ำนมด้วย ระบบคูลลิ่งแทงค์ จำนวน2 แทงค์
บุคลากรของศูนย์หนองวัวซอ นายคณาวิทย์ ปะทะโน (หัวหน้าศูนย์) รับผิดชอบ งานบริการสัตวแพทย์/ผสมเทียม งานส่งเสริมฯ งานควบคุมคุณภาพน้ำนมดิบ บริหารจัดการภายในศูนย์ฯ
นายพนมพร วงศ์เชียงเพ็ง รับผิดชอบงาน ด้านน้ำนมดิบ /งานบริการสัตวแพทย์/ผสมเทียม /ทะเบียนประวัติโค / เก็บข้อมูล DIP
กิจกรรมศูนย์หนองวัวซอ แบ่งออกเป็น 4 กิจกรรม 1. ด้านการรับน้ำนมดิบ 2. ด้านการส่งเสริม 3. ด้านสัตวแพทย์ ผสมเทียม 4. อื่น ๆ
1. ด้านการรับน้ำนมดิบ
การตรวจคุณภาพน้ำนมด้วยวิธีทดสอบ Alcohol test , CMT , Methylene blue และ Clot on boiling test
การตรวจสอบน้ำนมดิบด้วย Alcohol Test - เป็นการตรวจสอบความเสถียรของโปรตีนในน้ำนม
การตรวจสอบน้ำนมดิบด้วยการ Clot on boiling - เป็นการทดสอบการยืนยันผลของ Alcohol Test โดยทำการต้มในน้ำเดือดประมาน 5 นาที
การตรวจสอบน้ำนมดิบด้วยน้ำยา CMT
การตรวจสอบน้ำนมดิบด้วย Methylene blue
2.ด้านการส่งเสริม
รีดนมช่วยสมาชิก
การให้คะแนนคอก
การประชุมร่วมกับสมาชิก เรื่องนมเสื่อมคุณภาพ
การประชุมประจำเดือน
3. ด้านสัตวแพทย์ , ผสมเทียม
การผสมเทียม
ขั้นตอนการผสมเทียม 1.การเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม 2.ตรวจแม่โคว่าเป็นสัดจริงหรือไม่ (ดูภายนอก,ประวัติ,ล้วงตรวจ) 3.การละลายน้ำเชื้อแช่แข็ง : แช่ในน้ำอุ่น 35-37 °C เป็นเวลา 30 วินาที 4.การสอดท่อ : สอดปืนเข้าไปในส่วนของคอมดลูก ปล่อยน้ำเชื้อประมาณ 8 วินาที จากนั้น ถอยปืนออกมาจนปลายปืนอยู่กลางคอมดลูก (cervix) ปล่อยน้ำเชื้อที่เหลือกลางคอมดลูก (cervix)
การช่วยทำคลอดลูกโค
การล้างมดลูก
การตัดกีบ,การตัดและติดเบอร์หู
การเจาะเลือดโค
4.อื่นๆ
การทำงานวิจัยของ ดร.นวดล “การผลิตอาหารโคนม เพื่อลดต้นทุนในการเลี้ยงโคนม”
การทำงานวิจัยของ ดร.นวดล (ต่อ)
การทำงานปัญหาพิเศษของนศ.ราชภัฏอุดรธานี
การทำงานปัญหาพิเศษของนศ.ราชภัฏอุดรธานี (ต่อ)
การอบรมการตรวจคุณภาพน้ำนมโดย QC อสค.ขอนแก่น
การตรวจคุณภาพน้ำนมโดย QC
การบันทึกข้อมูล DPO - เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการบันทึกปริมาณน้ำนมที่ได้ในแต่ละวัน
การบันทึกทะเบียนประวัติ DIP - เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการบันทึกทะเบียนประวัติและบัตรประจำตัวโคนม เพื่อเป็นการทราบถึงประวัติและที่มาของโคแต่ละตัว
เกณฑ์การให้คะแนนน้ำนมดิบ แบ่งออกเป็น 3อย่าง การรับซื้อน้ำนมดิบ ราคามาตรฐาน 16.40 บาท 1. ตรวจ MB (คุณภาพทางสุขศาสตร์) เกรด 1 MB มากกว่า 6 ชม ราคาเพิ่ม 0.50 บาท/กก เกรด 2 MB 4-6 ชม ราคาเพิ่ม 0.20 บาท/กก เกรด 3 MB น้อยกว่า 4 ชม ราคาลด 0.50 บาท/กก 2. การให้คะแนนคอก คะแนน คอก 1 ราคาเฉลี่ย 0.00 บาท คะแนน คอก 2 ราคาเฉลี่ย 0.05 บาท คะแนน คอก 3 ราคาเฉลี่ย 0.10 บาท คะแนน คอก 4 ราคาเฉลี่ย 0.15 บาท 3. ไขมันไม่ต่ำกว่า 3.3 (เพิ่ม/ลด จุดละ 0.02 บาท )
สิ่งที่ได้จากการฝึกงานที่ อสค.หนองวัวซอ - ได้เรียนรู้ประสบการณ์ในการทำฟาร์มโคนมจากเกษตรกร ไม่ว่าจะเป็นเริ่มตั้งแต่การเลี้ยงโคนม การให้อาหาร, การรีดนม , การทำความสะอาดซองรีดนม - ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตรวจคุณภาพน้ำนมดิบด้วยวิธี Alcohol test , CMT, Methylene blue,Clot on bloling test และลงมือปฏิบัติจริง - ได้เรียนรู้เกี่ยวกับการออกปฏิบัติงานด้านสัตวแพทย์ตามฟาร์มของสมาชิก เช่น การตัดกีบวัว , การผสมเทียมวัว , การตัดเบอร์หูวัว , การติดเบอร์หูวัว
- ปลอมปนน้ำ ปรับ 30 เท่า - ปลอมปนยาปฏิชีวนะ ปรับ 15 เท่า - รู้ข้อมูลการทำระเบียนประวิติ ในโปรแกรม DIP - รู้ข้อมูลเกี่ยวกับการบันทึกปริมาณน้ำนมดิบในแต่ละวัน DPO รู้ข้อมูลเกี่ยวกับ การให้คะแนนคอก , การให้ เกรด MB , การเพิ่มหรือลดไขมัน ศูนย์เปิดรับน้ำนมดิบ 2 ช่วง คือ ช่วงเช้า 7.00-8.00 น. ช่วงเย็น 16.30-17.30 น.
ขอบคุณครับ