นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รายงานข้อสั่งการ ข้อสั่งการ ๑. การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
Advertisements

บูรณาการสู่ความสำเร็จ
รพ.สร้างเสริมสุขภาพตำบล
งบกองทุนทันตกรรม ปีงบประมาณ 2554
ประกาศหลักเกณฑ์การบริหารกองทุนฯปี ๒๕๕๗
การอบรม อสม. รุ่น 2 เป้าหมาย อสม.รุ่น 1 - อสมช. ด้านโรคความดันโลหิตสูง
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ เครือข่ายบริการสุขภาพที่ ๖ Service Plan บริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ สุขภาพองค์รวม ทพ.อนุโรจน์ เล็กเจริญสุข ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ.
พื้นที่รับผิดชอบของ นสค.
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนางานสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรค และ ภัยสุขภาพ ของจังหวัดในพื้นที่ สปสช.เขต 4 จังหวัดสระบุรี ภายในปี 2556 (ระยะ 4 ปี)
ภ ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า)
ประชุมเพื่อประสานแผน การทำงาน การกำหนดเป้าหมาย และการติดตามกำกับงาน
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.ก้องภพ สีละพัฒน์ ผู้นิเทศงานปฐมภูมิ
แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5
ยุทธศาสตร์ กรมสุขภาพจิต
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริบาลเบื้องต้นในหน่วยบริการปฐมภูมิ PUBH 224_Basic Medical Care in Primary Care Unit Benjawan Nunthachai.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
การพัฒนาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
รักษาราชการแทนปลัดกระทรวงสาธารณสุข
สรุปการประชุม เขต 10.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
กลุ่มที่ 13 ประกอบด้วยกลุ่มบุคคลที่มาจากหลายเขต เช่น เขต 1, 2, 3, 10, 15 มีทั้งหมด 3 ประเด็นด้วยกัน คือ 1. สรุปกระบวนการและข้อเสนอแนะการนิเทศ รพ.สต. รอบที่
นโยบาย ปฐมภูมิ ลดแออัด พัฒนาคุณภาพบริการ
สรุปแนวทาง การระดมความคิดเห็น กลุ่มย่อยที่ 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พัฒนาคุณภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอและหน่วยบริการ ปฐมภูมิ
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ทิศทาง การทำงาน๒๕๕๔ นพ.นิทัศน์ รายยวา 1.
นโยบาย ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ของกระทรวงสาธารณสุข
ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย ร่วมด้วย ช่วยกัน ประชาชนคือ เป้าหมาย นพ. นิทัศน์ ราย ยวา ผู้ตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข.
ความคาดหวังกับรพ.สต.มิติใหม่ของการพัฒนางานสาธารณสุข
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
บุญเรือง ขาวนวล คณะวิทยาการสุขภาพและการกีฬา
แนวทางการดำเนินงาน กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
บทเรียนการดำเนินการ กองทุนทันตกรรม ศูนย์อนามัยที่ 4 ราชบุรี
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
“ประชาชนมีญาติเป็นหมอ” หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
วิสัยทั ศน์ เป็นองค์กรที่เป็นเลิศด้าน การแก้ไขปัญหาสุขภาพจิตจาก แอลกอฮอล์ของประเทศและ พัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต และจิตเวชในเครือข่ายบริการ สุขภาพจิตที่
การเชื่อมโยงนโยบายบริการสุขภาพลงสู่อำเภอ, ตำบล
แผนพัฒนาระบบบริการ สาขาบริการปฐมภูมิ
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
ทีมหมอประจำครอบครัว (Family care team) ดูแลถ้วนทั่วทุกกลุ่มวัย
ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554 ระบบบริการสุขภาพช่องปากปี 2554
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
สกลนครโมเดล.
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
ปฐมภูมิ กับการเปลี่ยนแปลง อำเภอสุขภาพเข้มแข็ง ศรัทธา มุ่งมั่น พยายาม
หมอครอบครัวประจำตัว ทุกครัวเรือน ปฏิบัติการเร่งรัด ๒๕๕๕ ปฏิ
RMCDOTNET โปรแกรมบริหารระบบบำรุงรักษาในโรงพยาบาล
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช
โครงการลดความแออัดของผู้รับบริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลชลบุรี
ประชาชน “อุ่นใจ” มีญาติทั่วไทย เป็นทีมหมอครอบครัว
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ แผนงาน เป้าหมายการให้บริการกระทรวง เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน ผลผลิต/โครงการและงบประมาณปี 2554 กรมควบคุมโรค.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556 แนวทางพัฒนาระบบสุขภาพ 2557 เขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ 9 นครชัยบุรินทร์ นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556

ประเด็น วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ทิศทางและเป้าหมายสุดท้ายของเขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ 9 ปรัชญาในการดำเนินงาน ทำอย่างไร “ประชาชนมีญาติเป็นหมอ หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน” แนวทางพัฒนาสาธารณสุข สร้างการมีส่วนร่วมจากผู้เชี่ยวชาญทุกสาขาทุกกลุ่ม ธรรมนูญสุขภาพเขตนครชัยบุรินทร์

คนไทยทุกคนสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ คนไทยทุกคนสุขภาพแข็งแรงเพิ่มขึ้น เพื่อเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน

บริหารจัดการที่มีคุณภาพ พันธกิจ บริหารจัดการที่มีคุณภาพ ฐานข้อมูล การจัดการเรียนรู้ การติดตามประเมินผล จัดระบบบริการ ครบวงจร เชื่อมโยง ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ/ตติยภูมิ และศูนย์เป็นเลิศอย่างไร้รอยต่อ

อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด รายภาค ปี 2553-2558 สำนักงานสถิติแห่งชาติ เป้าหมาย อายุคาดเฉลี่ยแรกเกิดมากกว่า 80 ปี อายุคาดเฉลี่ยมีสุขภาพดีมากกว่า 72 ปี ชาย 72.16 หญิง 77.41 อายุคาดเฉลี่ยเมื่อแรกเกิด รายภาค ปี 2553-2558 สำนักงานสถิติแห่งชาติ

ทิศทางและเป้าหมาย เขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ 9 6.65 ล้านคน เข้าถึงบริการสุขภาพที่มีคุณภาพทุกคน พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิเต็มพื้นที่แบบยั่งยืน มีการเชื่อมโยงบริการทุติยภูมิ ตติยภูมิและศูนย์เป็นเลิศ แบบเอื้อเฟื้อช่วยเหลือบนหลักการเศรษฐกิจพอเพียง “มีเหตุผล สายกลาง และมีภูมิคุ้มกัน บนพื้นฐานวิชาการและคุณธรรม” ระบบข้อมูลข่าวสารมีเพื่อพัฒนาระบบสุขภาพของประชาชน รู้ปัญหา รู้สถานะภาพปัจจุบัน ของบุคคลที่ต้องจัดการด้านสุขภาพ ดำเนินการต่อเนื่องและยั่งยืน

“ รวมคน รวมเงิน รวมงาน ” ปรัชญา “ รวมคน รวมเงิน รวมงาน ”

รวมคน จัดสรรบุคลากร พัฒนาบุคลากร จะจัดระบบการให้บริการตามระดับหน่วยบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ/ตติยภูมิ ตามภาระงานที่เป็นจริง และระดับศูนย์เป็นเลิศเน้นการดูแลเต็มที่เต็มความสามารถ และวางแผนกระจายอย่างเป็นระบบ แบบมีสิ่งดึงดูดให้บุคลากรไปทำงานอย่างมีความสุข พัฒนาบุคลากร จะร่วมเติมศักยภาพอย่างเป็นระบบ และช่วยแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยเน้นการเร่งรัดเป็นหน่วย และขยายต่อไปให้ครบถ้วน

รวมเงิน งบประมาณ สธ และ สปสช. ยอดรวมจะพิจารณาให้ด้วยความรอบคอบ แบบมีส่วนร่วมและสนองตอบการดูแลประชาชน 6.65 ล้านคน ผ่านหน่วยงานระดับล่างสุดคือหน่วยปฐมภูมิ อันได้แก่ เครือข่ายในตำบลสำหรับชนบท และเครือข่ายชุมชนเมืองในเขตของโรงพยาบาล รวมประมาณ 1,000 แห่ง โดยการดูแลอย่างใกล้ชิดจากอำเภอสุขภาพเข้มแข็ง 88 แห่ง งบประมาณอื่นๆ ที่แต่ละหน่วยงานได้รับ เช่น เงินบำรุง ผู้บริหารจังหวัดและอำเภอจะพิจารณาตามความเหมาะสมเพื่อสนับสนุน ช่วยเหลือแบบให้เปล่าหรือแบบมีเงื่อนไข เพื่อดูแลประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบของตนเอง

รวมงาน ประชาชน 6.65 ล้านคน มีอายุยืนยาวอยู่อย่างมีความสุข WE CAN DO

W. = Working วัยแรงงาน มีงานทำไม่โดดเดี่ยวในสังคม สนุกกับการออกกำลังกาย ลด ละ เลิก อบายมุข เหล้าบุหรี่ ยาเสพติด ลดเครียดอารมณ์ดี ปัจจัย 4 อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค สมบูรณ์ถ้วนหน้า Health - Check

E. = Educational วัยรุ่นวัยเรียน มีสังคมแห่งการเรียนรู้ ช่วยตลอดเวลา มีโอกาสเรียนตามที่ชอบเพื่อมีงานทำในสังคมที่อบอุ่น ลด ละ เลิก อบายมุข ลดอ้วน ลดท้องก่อนวัยอันควร ออกกำลังกายเป็นชีวิตจิตใจ

C. = Child เด็ก 0-5 ปี มีพลานามัยดี สมองเลิศ จิตใจเยี่ยม Vaccine ตามวัยเต็มร้อย พัฒนาการครบถ้วน กระตุ้นอย่างเป็นระบบ ศูนย์เด็กเล็กคุณภาพกระจายทั่วถึงทุกคนได้เข้าเรียนรู้ อาหารเสริมครบ 5 หมู่

A. = ANC & MCH หญิงตั้งครรภ์ ทุกคนได้รับการดูแลเต็มที่ อาหารเสริม บริการตรวจเฝ้าระวัง การคลอดที่มีคุณภาพ อารมณ์ ความเป็นแม่สมบูรณ์แบบ เด็กได้รับวัคซีน กินนมแม่ ดูแลใกล้ชิด ที่ปรึกษาออนไลน์ อุปกรณ์ เครื่องใช้เด็กอ่อนครบครัน

N. = NCD โรคเรื้อรัง ดูแลครบวงจร เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคตาและสายตา ผู้ป่วยจิตเวช

D. = Disability ผู้พิการ ได้รับการพัฒนาเพื่อช่วยตนเองได้ ผู้ที่ติดเตียง ได้รับการดูแลถึงบ้าน สอนญาติช่วยดูแลแบบประคองอย่างมีความสุข (Palliative Care) ในระยะสุดท้าย ผู้ที่มีศักยภาพพัฒนาจะได้รับเครื่องช่วยเหลือประจำตัว สนับสนุนให้ผู้พิการมีกิจกรรมเลี้ยงชีพ ตลอดจนจัดกลุ่มดูแลกันอย่างทั่วถึง

O. = Old age ผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลและอยู่ในสังคมแบบมีเกียรติ มีกิจกรรมเพื่อสังคมที่น่า ยกย่อง กรณีพิการหรือมีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหว หรือติดเตียงระยะสุดท้ายจะได้รับการดูแล เช่น ผู้พิการอย่างสมบูรณ์

เริ่มเป็นจุด ต่อเป็นเส้น ขยายเป็นแนว ขยับเป็นคลื่น ถาโถมเป็นพายุ เริ่มเป็นจุด ต่อเป็นเส้น ขยายเป็นแนว ขยับเป็นคลื่น ถาโถมเป็นพายุ

ทุกหน่วยบริการจะเร่งพัฒนาพื้นที่ต้นแบบ เช่น อำเภอ สร้างต้นแบบศูนย์สุขภาพปฐมภูมิเข้มแข็ง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัด สร้างต้นแบบอำเภอสุขภาพเข้มแข็ง ระดมทรัพยากรเร่งพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สำเร็จเป็นจุดต้นแบบ แล้วขยายต่อทุกแห่งกลายเป็นเส้น รวมตัวขยับแก้ปัญหาเป็นประเด็น เร่งรัดเพื่อเกิดผลสะเทือนในภาพกว้าง ทั้งนี้จะเร่งรัดให้ครบถ้วนภายใน กันยายน 2557

การเชื่อมโยงเครือข่ายจากบ้าน (แพทย์ นสค. และ อสม.) ครอบครัว/ประชาชน 1 ... อสม ... ... นสค. ... 1,250 1 20 25 2 แพทย์ 1 ... 1 ... ... ... ... 25 1,250 20 2 1 ... 1 14 ... ... ... 25 1,250 20 2 1

เครือข่ายแพทย์เฉพาะทางสนับสนุน ๑ แพทย์ ๑ ตำบล.หรือ.๑ แพทย์ ๑ ที่ปรึกษา เครือข่ายแพทย์เฉพาะทางสนับสนุน วรพงษ์หมอกระดูก วันเพ็ญหมอตา วรจิตหมอหัวใจ ปิยะพงษ์หมอโรคไต หัวหน้า มยุรี พี่อิ๋ว วรรณ ตุ้ม 0812630223 0895717284 0850113898 0872506578 0847433211 ไก่ อ้อ 081 5485541 แนนก่ 21

- ปรึกษาทางไกล พึ่งได้เหมือนญาติ - พบหมอใกล้ตัว ทั่วถึงออนไลน์ - ปรึกษาทางไกล พึ่งได้เหมือนญาติ - พบหมอใกล้ตัว ทั่วถึงออนไลน์ ดูแลถึงบ้าน เบิกบานถ้วนทั่ว แผนส่งเสริมสุขภาพ รายคน ชุมชน ร่วมแรงแข็งขัน

ประชาชนมีญาติเป็นหมอ หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน ประชาชนมีญาติเป็นหมอ หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน 1 มีนักสุขภาพครอบครัวประจำตัว 1 : 1,250 ดูแลทุกมิติ WECANDO ถึงบ้านและสานเชื่อมต่อแพทย์เวชศาสตร์ ถึงแพทย์เฉพาะด้านครบวงจร มีแพทย์เวชศาสตร์ (หรือแพทย์ทั่วไปที่มีจิตวิญญาณปฐมภูมิ) เป็นที่ปรึกษา 1 : 12

ประชาชนมีญาติเป็นหมอ หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน ประชาชนมีญาติเป็นหมอ หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน 2 อสม. เป็นผู้ช่วยหมอครอบครัวที่ใกล้ชิดสนิทแบบเพื่อนบ้าน 1 : 50

ผลักดันรับผิดชอบร่วม ประชาชน อสม 1 : 50 นสค 1 : 1250 ( ต่อ อสม . 25 ) ทีมอำเภอสุขภาพเข้มแข็ง สนับสนุน จัดทีมเสริม - กายภาพ - ทันต จิต โภชนาการ - โภชนาการ ทีมจังหวัดบูรณาการ ชั้นเลิศ สนับสนุน ประเมิน เขต ผลักดันรับผิดชอบร่วม สนับสนุน แก้ปัญหา ชื่นชม ผลกระทบ - 2-5 ทีม/จังหวัด - ทีมละ 500,000 13 ทีม

ประชาชนมีญาติเป็นหมอ หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน ประชาชนมีญาติเป็นหมอ หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน 3 หน่วยบริการตำบล/ชุมชนเข้มแข็ง “รวมคน รวมเงิน รวมงาน” ไม่ใช่ยุบรวม รพ.สต. - ขนาด 1 ตำบล (1 ชุมชน) - ประชากรประมาณ 7,000 - ทีมหลัก 7 คน ผู้จัดการ 1 คน NP 2-3 คน นวก. 2-3 คน นับกำลังคน 1: 1,250 - ทีมช่วยเสริม 5-6 คน ผช.นักกายภาพ 1-2 คน ทันตภิบาล 1 คน ผช.แพทย์แผนไทย 1 คน พนง.ข้อมูล ๑ คน

ประชาชนมีญาติเป็นหมอ หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน ประชาชนมีญาติเป็นหมอ หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน 4 คณะกรรมการบริหารอำเภอสุขภาพเข้มแข็ง (Commission Board) - ประธาน - รองประธาน - รพช. 4 - สสอ. 4 - สปสช. 1 - คนนอก (ผู้ทรงคุณวุฒิ 2 คน) - ผู้บริหาร อบต./เทศบาล ทุกแห่ง

ประชาชนมีญาติเป็นหมอ หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน ประชาชนมีญาติเป็นหมอ หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน องค์ประกอบ ประธาน นพ.สสจ. รองประธาน 1 ผอ.รพศ./รพท. รองประธาน 2 รองประธาน 3 ผอ.รพช./ผู้แทน ผู้แทน สธ 4 ผู้แทน อปท. 4 ผู้แทน สปสช. 2 ผู้แทน พท. 4 เลขา สปสช. 5 คณะกรรมการบริหารสุขภาพบูรณาการ กก.สนับสนุนพัฒนาสุขภาพ จังหวัด หน่วยปฐมภูมิ และหมอครอบครัว สาธารณสุขในชุมชน บริการทุติ/ตติ และการส่งต่อ W อยู่ในสังคมแบบไม่โดดเดี่ยวและ 5 อ. E ลด ละ เลิก อบายมุขและท้องก่อนวัยอันควร C พัฒนาการเด็กดี A ดูแลเสริมอาหาร วิตามิน หญิงตั้งครรภ์และคลอดปลอดภัย N DM/HT D พิการ O สูงวัย - ฟัน - กายภาพ - มีกลุ่มชมรมดูแล

แนวทางพัฒนาสาธารณสุข พัฒนาคุณภาพบริการ แบ่งปันทรัพยากร เอื้ออาทรผู้ปฏิบัติงาน สานท้องถิ่นสร้างชุมชนเข้มแข็ง

พัฒนาคุณภาพบริการ กระตุ้น สนับสนุน ชี้แนะ และทำเป็นแบบอย่างให้ทุกครอบครัวปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ยึดถือแนวทาง 5 อ. อย่างเคร่งครัด เพื่อไม่ป่วย โดย นสค. ปฏิบัติตัวเป็น “หมอครอบครัวประจำครัวเรือน” 1 : 1,250 มียาจำเป็นใกล้มือที่บ้านเพื่อผ่อนหนักเป็นเบาและสร้างความอุ่นใจ ประชาชนติดต่อ นสค. ด้วยโทรศัพท์มือถือ และเชื่อมต่อถึงแพทย์ที่ปรึกษาซึ่งรับผิดชอบ นสค. 1 : 12 เมื่อส่งตัวไปรักษาต่อใน รพช., รพท., รพศ. รวมถึงศูนย์ความเป็นเลิศต่างๆ จะได้รับการดูแลเหมือน “พาญาติไปรักษาต่อ”

แบ่งปันทรัพยากร ทีมบริหารอำเภอและจังหวัด มีส่วนร่วมในการจัดสรรทรัพยากรและแบ่งปัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการพัฒนางานบนหลักการ “ พี่ให้น้อง” ทรัพยากรอาจพิจารณาแบ่งปันแบบให้เปล่าหรือให้ยืม

เอื้ออาทรผู้ปฏิบัติงาน ทีมงานสาธารณสุขทุกระดับคือสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน ได้รับโอกาสสนับสนุนความก้าวหน้าอย่างเป็นธรรมบนหลักการ “ธรรมาภิบาล” ผู้บริหารดูแลผู้ปฏิบัติงานในทีมเหมือน “ครอบครัวเดียวกัน เป็นพี่ เป็นน้อง เป็นพ่อ เป็นลูก” กฎระเบียบมีไว้เพื่อป้องกันไม่ให้สมาชิกแตกแถว ไม่ใช่มีไว้เพื่อกันไม่ให้คนดีทำงาน หรือบั่นทอนกำลังใจ เกิดอุปสรรคปิดกั้นการทุ่มเทพัฒนา

สานท้องถิ่นสร้างชุมชนเข้มแข็ง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทั้ง อบจ. อบต. เทศบาล เป็นมหามิตร ผู้รับผิดชอบพื้นที่ ต้องแสวงความร่วมมือ และร่วมระดมทรัพยากรมาใช้ร่วมกันโดยมี ประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบเป็นเป้าหมาย “แสวงจุดร่วม สงวนจุดต่าง”

สร้างการมีส่วนร่วมจากผู้เชี่ยวชาญทุกสาขาทุกกลุ่ม กลุ่มสูติ-นารีเวชกรรม ดูแลแม่ตั้งครรภ์ครบวงจร เสริมอาหาร เสริมวิตามิน ครบถ้วน ได้คลอดอุ่นใจและปลอดภัย ลดความรุนแรงมะเร็งปากมดลูก ตรวจครบทุกคน ส่งต่อทุกที่ กลุ่มกุมารเวชกรรม ดูแลพัฒนาเด็ก 0-5 ปี ทั้งระบบ มีส่วนพัฒนาศูนย์เด็กทุกแห่ง (เด็ก 150,000คน 2000 ศูนย์ ?) กลุ่มศัลยกรรม ป้องกันส่งต่ออุบัติเหตุ “รวดเร็ว ปลอดภัย ประทับใจ” กลุ่มอายุรกรรม เน้นหนักโรคเรื้อรังรุนแรง ทั้งป้องกัน เปลี่ยนพฤติกรรม สุขภาพ และรักษาต่อเนื่อง เบาหวาน/ความดัน/ STROKE

สร้างการมีส่วนร่วมจากผู้เชี่ยวชาญทุกสาขาทุกกลุ่ม กลุ่มจักษุกรรม ตาสว่างทั้งเขต ตาบอดจากต้อกระจกต้องได้รับการรักษา ป้องกันไม่ให้เกิดตาบอด (60,000คน?) กลุ่มกระดูกและเวชกรรมฟื้นฟู ดูแลผู้พิการถึงบ้าน โรงพยาบาลทุกแห่งเป็นศูนย์ฟื้นฟูผู้พิการ กลุ่มจิตเวช ดูแลผู้มีปัญหาทางจิตถึงบ้านและป้องกันปัญหาวัยรุ่นด้วยการเร่งรัดส่งเสริมจิตเวชวัยรุ่น กลุ่มเวชกรรม - ดูแลผู้สูงอายุครบวงจรทั้งติดบ้านและติดเตียงพร้อมทั้งจัดกลุ่ม ติดสังคมให้มีส่วนในการดำเนินงานจิตอาสาในวงกว้างเพื่อสร้างความคุณค่าในสังคม

ธรรมนูญสุขภาพเขตนครชัยบุรินทร์ หน่วยบริการสาธารณสุขที่ปฏิบัติหน้าที่พัฒนาระบบบริการปฐมภูมิจะมีพื้นที่ตำบลเป็นหน่วยองค์กรลักษณะเครือข่าย รพ.สต. ในตำบลนั้น ๆ หรือเป็นศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองในเขตพื้นที่ปฏิบัติการของโรงพยาบาล แต่ละเครือข่ายจะมีบุคลากรระดับวุฒิทางสาธารณสุขต่อประชากรในสัดส่วน ๑: ๑,๒๕๐ และจะมีทีมบริการแต่ละด้าน เช่น ทันตสาธารณสุข, การแพทย์แผนไทย, ผู้ช่วยกายภาพบำบัดและผู้บันทึกข้อมูล รวม ๔ คน รวมผู้ปฏิบัติงานที่มีวุฒิและผู้ปฏิบัติเฉพาะด้าน ๑๐-๑๒ คน ต่อ หนึ่งหน่วย

ธรรมนูญสุขภาพเขตนครชัยบุรินทร์ หน่วยพัฒนาระบบสุขภาพ อำเภอสุขภาพเข้มแข็งมีหน้าที่รับผิดชอบประชาชนทุกคนในเขตอำเภอด้วย การสนับสนุนและบริหารหน่วยปฐมภูมิให้มีศักยภาพ พัฒนาอย่างต่อเนื่อง ดูแลประชาชนทุกคนเสมือนญาติเพื่อจัดระบบ “หมอครอบครัวประจำตัวทุกครัวเรือน” หน่วยพัฒนาสุขภาพ “อำเภอสุขภาพเข้มแข็ง” (อสข.) ประกอบด้วย ผู้แทน สสอ. (รพ.สต.) รพช. สปสช. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผู้ทรงคุณวุฒิ มีการบริหารจัดการต่อเนื่องสม่ำเสมอติดตามผลปฏิบัติงานเป็นประจำอย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง

ธรรมนูญสุขภาพเขตนครชัยบุรินทร์ 2.1 สาธารณสุขอำเภอมีหน้าที่รับผิดชอบการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคเป็นหลักทั้งเขตพื้นที่อำเภอ รวมพื้นที่โรงพยาบาลด้วย .2.2 ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมชน / หัวหน้าเวชกรรมสังคม รับผิดชอบรับส่งต่อผู้ป่วยจากปฐมภูมิมารับการรักษาอย่างเป็นระบบอย่างมีคุณภาพและเอื้ออาทร พร้อมท้งจัดทีมช่วยดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย, กายภาพบำบัด 2.3 โรงพยาบาลชุมชน จะดูแลผู้พิการ เพื่อฟื้นฟูสภาพตามหลักวิธีการ เพื่อส่งคืนสู่ชุมชน และรับผิดชอบผู้ป่วยจิตเวช รวมทั้งโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มีโรคแทรกซ้อน โดยครอบคลุมการส่งต่อหรือ/และประสานจากตำบลในอำเภอ

ธรรมนูญสุขภาพเขตนครชัยบุรินทร์ หน่วยพัฒนาสุขภาพจังหวัดบูรณาการ มีหน้าที่สนับสนุนทีมอำเภอสุขภาพเข้มแข็งในการขับเคลื่อนทั้งระบบ ดูแล กำลังคน เพิ่มศักยภาพ 5 ทักษะสำคัญ ได้แก่ การเฝ้าระวังสอบสวนโรค การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การให้คำปรึกษา การจัดการแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ และการรักษาพยาบาลเบื้องต้น (พยาบาลเวชปฏิบัติ หรือเพิ่มความรู้พิเศษแก่นักวิชาการสาธารณสุข) ดูแลเรื่องการเงินการคลังให้เพียงพอ และคอยประเมินภาระงานอย่างครบถ้วน

ธรรมนูญสุขภาพเขตนครชัยบุรินทร์ 3.1 โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป มีหน้าที่เพิ่มศักยภาพโรงพยาบาลชุมชน เพื่อรับผู้ป่วยวิกฤติระยะสุดท้ายไปอยู่ใน รพช. และกลับสู่ครัวเรือน ประสาน รพช. เสมือนเป็นหน่วยหนึ่งสาขาของโรงพยาบาลจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป จะกระจายผู้ป่วยพร้อมกระจายทรัพยากรช่วยเหลือ รพช. รพ.สต. ศสม. เพื่อลดความแออัดของผู้ป่วยวิกฤติที่ต้องการดูแลรักษาพยาบาลที่ใช้เทคโนโลยีและความสามารถระดับสูงอย่างเต็มความสามารถ ไม่มีการปฏิเสธผู้ป่วย ส่งต่อจากพื้นที่รับผิดชอบทุกกรณี 3.2 โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป มีการจัดระบบทีมเวชกรรม ร่วมมือกับสาธารณสุขอำเภอในอำเภอที่ตั้งโรงพยาบาล เพื่อเร่งรัดงานปฐมภูมิอย่างเป็นระบบและใช้ศักยภาพ พัฒนาบริการทุติยภูมิ/ตติยภูมิให้มีคุณภาพและรองรับผู้ที่จะเข้ารับบริการอย่างเต็มใจและด้วยความยินดี

นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556