ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
Advertisements

การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์
Chapter5:Sound (เสียง)
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System)
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
องค์ประกอบและประโยชน์ของมัลติมิเดีย
นายชะเวรินทร์ อินสุวรรณ เลขที่ 12 ม.5/4
เทคนิคการใช้โปรแกรม Sound Forge ในการบันทึกและตัดต่อเสียง
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
RAM (Random Access Memory)
เครื่องเสียงเพื่อการศึกษา
การนำเสนอสื่อประสม.
เรื่อง การทำงานของคอมพิวเตอร์ สาระวิชา คอมพิวเตอร์ ช่วงชั้นที่ ๑
SPEAKER & 3D AUDIO SPEAKER..? 3D AUDIO..? API หัวใจของพลังเสียง DIRECTSOUND 3D A3D (API ที่เป็นอดีต) EAX ความรุ่งโรจน์ของเสียง 3D อ้างอิง.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ มารู้จักคอมพิวเตอร์กันเถอะ
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
การประยุกต์ ใช้งานมัลติมีเดีย
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการค้นคว้า
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
เมนบอร์ด (mainboard). เมนบอร์ด (mainboard) Mainboard             Mainboard หรือ mother board ถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ชิ้นสำคัญไม่แพ้กับ CPU เพราะหน้าทีหลัก.
การ นำเสนอผลงาน อาจารย์นพรัตน์ วินิชาคม แผนกคอมพิวเตอร์กราฟิกและ เทคโนโลยีสารสนเทศ Tel / Facebook : Tel / Facebook.
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
Geographic Information System
ส่วนประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
องค์ประกอบของระบบเครือข่าย
ผู้จัดทำ นางสาว สุทธิดา แสงอุไร มัธยมศึกษาปีที่ 4/2 เลขที่ 27.
SPECK COMPUTER จัดทำโดย นางสาวแพรไหม หลวงสิงห์ไชย.
การทำงานของคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย ด.ญ.ตริษา บินสิริ อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
ด. ช. ภานุเดชขัดอุโมงค์ เลขที่ 1 ด. ช. นันทวัฒน์ ลิยอง เลขที่ 9 ด. ช. วสันต์ นามะยอม เลขที่ 12 ด. ช. ศักรินทร์ ทาแกง เลขที่ 14 ด. ช. สุทธิภัทร ปัญจมา เลขที่
จัดทำโดย 1. ด. ญ. ศุภรดา จายประมูล เลขที่ ด. ญ. เกสรา อินลม เลขที่ ด. ญ. ณีรนุช สมศักดิ์ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/8 ชั้น ม.3/8.
การจัดการฐานข้อมูล.
กิจกรรมที่ 1 ซอฟต์แวร์ระบบ จุดประสงค์ 1. บอกความหมายของซอฟต์แวร์
สรุปหน่วยที่ 4 ใบความรู้ที่ 1 โดย ด. ช. จิรายุทธ กาบปัญโญ เลขที่ 3 ด. ช. ณัฐชนน ทาแกง เลขที่ 4 ด. ช. ดนุพงษ์ ราชสม เลขที่ 5 ด. ช. ทินกร ตาสาย เลขที่ 6.
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
อ. ปริญญา น้อยดอนไพร (V ) เทคโนโลยี มัลติมีเดีย (MULTIMEDIA TECHNOLOGY) บทที่ 2 วิวัฒนาการมัลติมีเดีย.
เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งานด้าน มัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ
ประเภทของไฟล์เสียงเสียง
เรื่องเสียง จัดทำโดย ด. ช. เกชาบำรุงปรีชา ด. ช. เฉลิมพลวงค์ศรี ด. ช. เมธิชัยใจมาเชื่อ นาย ธนบดีปิงจันทร์ นาย คริษฐ์วงค์ดาว นักเรียนชั้น ม.3 เสนอ คุณครู
หน้าที่และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
รู้จักอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ HARD WAER
โรงเรียนสายมิตรเทคโนโคราช
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
วิชา การปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
คุณสมบัติของไฟล์วิดีโอ
เรื่อง เสียง (Sound)หรือ ออดิโอ (Audio)
1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ สมศักดิ์ เลขที่ 2 3/6.
เสียง จัดทำโดย 1. เด็กหญิง จุฑาทิพย์ ใจ พนัส เลขที่ เด็กหญิง พัชราวดี กวางแก้ว เลขที่ เด็กหญิง อรวรา ผุด ผ่อง เลขที่ 38.
1. ด. ช. ลัทธพล สุขใสบูลย์ เลขที่ 11 ชั้น ม. 3/5 2. ด. ช. เอกชัย จันทร์เป็ง เลขที่ 21 ชั้น ม. 3/5 3. ด. ช. ณรงค์ฤทธิ์ มูลกลาง เลขที่ 6 ม.3/5 4. ด. ช. ชินวิวัฒน์
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
เรื่อง เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)
จัดทำโดย ด.ช.ดนพล ศรีศักดา เลขที่ 2 ด.ช.ธนภัทร เอโปะ เลขที่ 5
หลักการบันทึกเสียง.
หลักในการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม
จัดทำโดย.... นางสาววริศรา ทาวรรณ์ เลขที่ 35 ชั้น ม.4/13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเลือกใช้คอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับงาน
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
สรูปบทที่ 1 จัดทำโดย ด. ญ. มัญชุพร ตันติประเสริฐ เลขที่ 32 ม 3/6 ด. ญ. ศริลักษณ์ ก๋าพรม เลขที่ 36 ม 3/6 ด. ช. ปุญญธิป โกวฤทธิ์ เลขที่ 9 3/6 ด. ช จักรกฤษ.
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย นาย สุเมธ สุขพิทักษ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผู้จัดทำ ด. ช. อดิรุจ อินต๊ะ เลขที่ 14 ด. ช. อดิรุจ ใจปาละ เลขที่ 15 ด. ญ. จินตพร กันทะ เลขที่ 23 ด. ญ. จิราภา สาทร เลขที่ 25 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/6

เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)

เสียง (Sound) เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้งาน ด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชม ได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตามธรรมชาติ ดังนั้น การเลือกใช้เสียงกับมัลติมีเดียอย่างเหมาะสม ย่อมสร้างความรู้สึกที่ดีและน่าประทับใจให้กับผู้ชมงาน นำเสนอได้ โดยเนื้อหาบทนี้จะกล่าวถึงความรู้ทั่วไป เกี่ยวกับออดิโอ เช่น อุปกรณ์สำหรับออดิโอ รูปแบบ ไฟล์ออดิโอ และซอฟต์แวร์สำหรับออดิโอ เป็นต้น

องค์ประกอบของระบบเสียง การนำเสียงจากธรรมชาติมาใช้งานบน คอมพิวเตอร์ต้องผ่านกระบวนการบันทึก (Record) จัด (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) แต่ก่อนที่จะผ่าน กระบวนการเหล่านี้จำเป็นต้องรับและแปลงเสียงให้อยู่ใน รูปแบบที่เหมาะสม โดยใช้เครื่องมือสำหรับประมวลผลและ แปลงเสียงต้นฉบับให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน (Microphone) เครื่องขยายเสียง (Amplifier) ลำโพง (Speaker) และอุปกรณ์ปรับแต่งเสียง (Audio Mixer)

ประเภทของเสียง ประเภทของเสียงสามารถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ เสียงแบบมิดี้ และเสียงแบบดิจิตอล โดยมีรายละเอียด ดังนี้

มิดี้ (MIDI: Musical Instrument Digital Interface) มิดี้ (MIDI) คือเสียงที่แทนเครื่องดนตรีชนิดต่างๆ ซึ่งได้รับการพัฒนามาตั้งแต่ปี ค. ศ สำหรับใช้กับ เครื่องดนตรีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ เช่น สร้าง เสียงตามเครื่องเล่นเปียโน เป็นต้น

ดนตรีแบบดิจิตอล (Digital Audio) ดนตรีแบบดิจิตอล (Digital Audio) คือ สัญญาณเสียงที่ส่งมากจากไมโครโฟนหรือเล่นเทป หรือ จากแหล่งกำเนิดเสียงต่างๆ ทั้งจากธรรมชาติ และที่สร้าง ขึ้นเอง และนำข้อมูลที่ได้มาแปลงเป็นสัญญาณดิจิตอล ข้อมูลจะถูกสุ่มให้อยู่ในรูปแบบของบิตข้อมูล โดยเรียก อัตราการสุ่มข้อมูลที่ได้มาว่า “Sampling Rate” และจำนวน ของข้อมูลที่ได้เรียกว่า “Sampling Size” ซึ่งจะเป็น ตัวกำหนดคุณภาพของเสียงดิจิตอล เสียงแบบดิจิตอลจะมี ขนาดข้อมูลใหญ่ ทำให้ต้องใช้หน่วยความจำและทรัพยากร ในการประมวลผลมากกว่ามิดี้ แต่จะแสดงได้หลากหลาย และเป็นธรรมชาติมากกว่า

อุปกรณ์สำหรับความคุมและบันทึกเสียง อุปกรณ์ที่สำคัญและเกี่ยวข้องกับการควบคุมและ บันทึกไฟล์เสียง ได้แก่ การ์ดเสียง (Sound Card) อุปกรณ์ถ่ายทอดสัญญาณเสียง (Audio Transmission) และอุปกรณ์บันทึกเสียง (Audio Recording Device)

การประมวลผลไฟล์เสียง (Processing Audio File) Wave File เป็นไฟล์ของคลื่นเสียงในรูปแบบอนาล็อก โดย การ์ดเสียงจะได้รับเสียงในรูปแบบสัญญาณอนาล็อกจาก ไมโครโฟน หรือเครื่องเล่นซีดี และส่งไปยังตัวแปลงสัญญาณแบบ ADC เพื่อแปลงสัญญาณอนาล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิตอล และส่ง ข้อมูลในรูปแบบไบนารี่ไปเก็บที่บัพเฟอร์ จากนั้นจะส่งไปยังตัว ประมวลผลสัญญาณดิจิตอล และบีบอัดไฟล์ข้อมูลให้มีขนาดเล็ก ลง เพื่อส่งข้อมูลไปยังหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในกรณีที่ต้องการเล่นไฟล์เสียง ซีพียุจะดึงไฟล์ข้อมูลจาก ฮาร์ดดิสก์ แล้วส่งไปยังตัวประมวลผลสัญญาณดิจิตอลเพื่อเล่น ไฟล์เสียง โดยจะขยายข้อมูลเสียง และส่งไปที่ DAC ซึ่งจะแปลง ข้อมูลดิจิตอลเป็นสัญญาณอนาล็อก ผ่านเครื่องขยายเสียงไปยัง ลำโพง

MIDI File เป็นไฟล์ที่ต้องการชิปสำหรับสังเคราะห์เสียง แบบมิดี้ หรือ Synthesize Chip โดยจะเขียนรายละเอียดเกี่ยวกับ ไฟล์ MIDI ไว้บนฮาร์ดดิสก์ในรูปแบบแท็กซ์ไฟล์ ซึ่งจะแสดง ข้อมูลว่าใช้เครื่องดนตรีอะไรในการเล่นและ เล่นอย่างไร โดย ข้อมูลของไฟล์เสียงจะถูกส่งจากซีพียูไปยังตัวประมวลผล สัญญาณดิจิตอล แล้วชิปสำหรับสังเคราะห์เสียงจะถูกสุ่ม สัญญาณเสียง และเลือกข้อมูลการสุ่มที่เหมาะสม เพื่อกำหนด ความดังและระดับเสียง เสียงที่ถูกสังเคราะห์จะถูกส่งไปที่ DAC เพื่อแปลงให้อยู่ในรูปแบบสัญญาณอนาล็อก และส่งผ่านพอร์ต เอาท์พุตไปยังลำโพง

จบการนำเสนอ