งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย 31 กรกฎาคม 2557

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นโยบายการพัฒนาระบบข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Advertisements

Service Plan สาขา NCD.
การพัฒนาระบบการส่งต่อโรคเรื้อรังใกล้บ้านใกล้ใจ โรงพยาบาลท่ายาง อำเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี กฤษณา เปรมศรี 10 มกราคม
ความก้าวหน้าของการพัฒนา Database
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
ด้านการส่งเสริมพัฒนาและ ปรับปรุง :ระบบการให้บริการ
ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2557 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
การดำเนินงานพัฒนา โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลขนาดใหญ่/ ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพ.สต./ศสม.) จังหวัดเลย.
ระบบข้อมูล กระทรวงสาธารณสุข
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูล จปฐ. และ ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2557
ข้อมูลที่จัดเก็บประกอบด้วย
ตัวชี้วัด P4P ตัวชี้วัดที่2 : ร้อยละของผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง(ติดเตียง)ได้รับการดูแล สุขภาพที่บ้าน(HHC) โดยบุคลากรสาธารณสุข เป้าหมาย ร้อยละ 80.
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
โครงการ/กิจกรรมสำคัญในปี 2557 สิ่งที่ CUP/อำเภอดำเนินการ
สามารถแก้ไขข้อมูล ได้ดังนี้ รหัสผ่าน (username / password) ของตำบล แก้ไข - เพิ่มเติม ฐานข้อมูลทั่วไป ของจังหวัด แก้ไข - เพิ่มเติม.
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
ค่าบริการแพทย์แผนไทยปีงบ 2556
แนวทางการดำเนินงานเกษตรกรปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข
นโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลงานเดือนเม.ย.-ธ.ค.56 ถึงเดือน ม.ค.57
โรคทางระบาดวิทยาที่มีอัตราป่วยสูง 10 ลำดับแรกของจังหวัดเลย สะสมตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 29 เมษายน 2555.
แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
การจัดส่งรายงานผู้ป่วยประกันสังคม
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
เปรียบเทียบประมาณการค่าใช้จ่ายตามแผนต่อเดือน กลุ่มที่ 1 รพ
(OP/PP Individual Data) รังสรรค์ ศรีภิรมย์
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
1.การส่งข้อมูล 12&21และรายงาน 43+7 แฟ้มมาตรฐาน ผ่านสสจ.ชลบุรี
งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย 30 มิถุนายน 2557
กลุ่มงานทันตสาธารณสุข สสจ.เลย
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 03. ข้อมูลการให้บริการ
หน้าจอส่งออก 43 แฟ้ม ส่งเป็น Zip ส่งOnline รายชื่อตารางต่างๆ
สรุปข้อมูลตัวชี้วัด งานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก สสจ.เลย
ปีงบประมาณ ให้ส่งข้อมูลรูปแบบ 18 แฟ้ม สนย. อย่างเดียว โดยแยกข้อมูลที่ส่งออกเป็น 2 ชุด 1. ชุดข้อมูลการให้บริการผู้ป่วยนอก (OP) ได้แก่ แฟ้ม Person,
นำเสนอแผนปฏิบัติการสาธารณสุข
คปสอ.ยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ผลงานรอบที่ 1/2555.
NAMPHONG DATA SYSTEM(NDS 1.0) by Samak Sonpirom
กีฬาสาธารณสุขสัมพันธ์ “รักเลย รักสุขภาพ” ครั้งที่ 2/58
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
NCD เขตบริการสุขภาพที่ 1.
LOGO. เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ
สาขาโรคมะเร็ง.
ของส่วนราชการและหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.
วาระประชุม กวป. งานแพทย์แผนไทย 2 ธ.ค โดย วัชรี แก้วสา
การจัดทำฐานข้อมูล อสม.
การบันทึกข้อมูล ในโปรแกรมJHCIS ให้ครบถ้วน ทุกแฟ้ม ตามรายงาน 18 แฟ้ม

โครงการพัฒนาระบบข้อมูล เพื่อการจัดการสุขภาพระดับอำเภอ
การพัฒนาระบบสารสนเทศโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
คู่มือการบันทึกข้อมูล 43+7แฟ้ม กลุ่ม 01. ข้อมูลประชาชน/ผู้ป่วย
เกณฑ์การส่งต่อผู้ป่วย COPD ดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การจัดการข้อมูลเพื่อประมวลผลงานตามตัวชี้วัดปี58
สรุปผลการปรับปรุงข้อมูลใน JHCIS
ประชุม web conference ติดตามข้อมูลแฟ้มมาตรฐาน วันที่ 24 เมษายน 2557
แนวทางการดำเนินงาน แพทย์แผนไทย ปี 57
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
LOGO. เครือข่ายพัฒนาระบบสารสนเทศ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดระดับโรงพยาบาล ปีงบประมาณ 2556 เดือน พฤศจิกายน 2555 รวมทั้งสิ้น 61 ตัวชี้วัด.
มีอะไรใหม่? ในโครงสร้างมาตรฐานข้อมูลสุขภาพ (43แฟ้ม) Version 2.3
การจัดการคุณภาพข้อมูลบริการป่วยนอก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย 31 กรกฎาคม 2557 สรุปการดำเนินงาน ICT งานข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สสจ.เลย 31 กรกฎาคม 2557

สรุปการประเมินยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบสารสนเทศสุขภาพ เขต ๘ จังหวัดเลย สรุปการประเมินยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบสารสนเทศสุขภาพ เขต ๘ จังหวัดเลย

ตัวชี้วัด หน่วยบริการมีระบบข้อมูลที่มีคุณภาพ ที่เชื่อถือได้สำหรับการบริหารจัดการระดับดีขึ้นไป เกณฑ์ระดับหน่วยงาน ระดับ คะแนน ปรับปรุง พอใช้ ปานกลาง ดี ดีมาก < 60 60.01-70 70.01-80 80.01-90 90.01-100 ส่วนที่ 1 ข้อมูลโครงสร้างมาตรฐาน 80 คะแนน 1.1 ทันเวลาในการส่งข้อมูลของหน่วยบริการ 10 คะแนน 1.2 คุณภาพข้อมูล ความถูกต้อง และความครบถ้วน 55 คะแนน 1.3 ความปลอดภัยโดยมีการสำรองข้อมูล 5 คะแนน 1.4 ใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูล 10 คะแนน ส่วนที่ 2 ข้อมูลสำรวจและรายงาน 20 คะแนน รวม 100 คะแนน (ประมวลผลจากข้อมูล 21 แฟ้ม) ระดับดีขึ้นไป คะแนน > 80.01

ลำดับ อำเภอ หน่วยบริการ ทังหมด ระดับ รวม ระดับ ดีขึ้นไป ร้อยละ ระดับ ดีขึ้นไป ร้อยละ ปานกลาง ดี ดีมาก 1   เมืองเลย  20 - 13 7 100.00 2   นาด้วง  6 4 3   เชียงคาน  15 12 14 93.33   ปากชม  11 10 90.91 5   ด่านซ้าย    นาแห้ว    ภูเรือ  8   ท่าลี่  9   วังสะพุง  18 16   ภูกระดึง    ภูหลวง    ผาขาว    เอราวัณ    หนองหิน  140 50 88 138 98.57

การปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558 การปฏิรูประบบข้อมูลสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ปี 2558

แฟ้มข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (43 แฟ้ม) 2. ข้อมูลครัวเรือน 1. ข้อมูลประชาชน/ผู้ป่วย 4. ข้อมูลบริการผู้ป่วยนอก 5. ข้อมูลบริการผู้ป่วยใน PERSON HOME ACCIDENT ADMISSION ADDRESS DIAGNOSIS_OPD DIAGNOSIS_IPD 3. ข้อมูลการให้บริการ DEATH PROCEDURE_OPD PROCEDURE_IPD CARD SERVICE DRUG_OPD DRUG_IPD DRUGALLERGY APPOINTMENT CHARGE_OPD CHARGE_IPD 6. ข้อมูลบริการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค SERVEILLANCE NUTRITION POSTNATAL SPECIALPP WOMEN PRENATAL NEWBORN FP ANC NEWBORN_CARE EPI LABOR DENTAL

แฟ้มข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (43 แฟ้ม) (ต่อ) 7. ข้อมูลคัดกรองและติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 8. ข้อมูลบริการในชุมขน 9. ข้อมูลความบกพร่องทางสุขภาพและบริการฟื้นฟูสภาพ 10. ข้อมูลชุมชนและกิจกรรมในชุมชน COMMUNITY_ SERVICE NCDSCREEN VILLAGE DISABILITY CHRONIC COMMUNITY_ ACTIVITY ICF CHRONICFU FUNCTIONAL LABFU 11. ข้อมูล ผู้ให้บริการ REHABILITATION PROVIDER

ข้อมูลเชิงสำรวจ (เป้าหมายการทำงาน) PERSON ADDRESS DEATH CARD HOME

1. PERSON ข้อมูลทั่วไปของประชาชนในเขตรับผิดชอบและผู้ที่มาใช้บริการ ประกอบด้วย 1) ประชาชนทุกคนที่อาศัยในเขตรับผิดชอบ 2) ประชาชนทุกคนที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน ในเขตรับผิดชอบ 3) ผู้มารับบริการที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบ ลักษณะแฟ้ม : แฟ้มสะสม 1. เก็บข้อมูลโดยการสำรวจ กำหนดให้ทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ภายในเดือนสิงหาคม และปรับฐานข้อมูลให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 1 ตุลาคม ของทุกปี 2. กรณีที่มีผู้มารับบริการรายใหม่ที่ยังไม่เคยขึ้นทะเบียน หรือมีการปรับแก้ข้อมูลพื้นฐานของผู้รับบริการรายเดิม ให้ปรับปรุงข้อมูลเพิ่มเติมและส่งให้ส่วนกลางภายในรอบของเดือนนั้น ๆ

สิ่งที่จำเป็นต้องบันทึก เลขที่บัตรประชาชน รหัสบ้าน คำนำหน้า ชื่อ นามสกุล เพศ วันเกิด สถานะสมรส อาชีพ(รหัสใหม่) สัญชาติ ศาสนา ระดับการศึกษา รหัส CID บิดา (กรณีอายุต่ำกว่า 15 ปี) รหัส CID มารดา (กรณีอายุต่ำกว่า 15 ปี) สถานะในชุมชน สถานะ/สาเหตุการจำหน่าย หมู่เลือด หมู่เลือด RH รหัสความเป็นคนต่างด้าว สถานะบุคคล

สถานะ/สาเหตุการจำหน่าย 1 = ตาย 2 = ย้าย 3 = สาบสูญ 9 =ไม่จำหน่าย สถานะบุคคล 1 = มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบและอยู่จริง 2 = มีชื่ออยู่ตามทะเบียนบ้านในเขตรับผิดชอบแต่ตัวไม่อยู่จริง 3 = มาอาศัยอยู่ในเขตรับผิดชอบ (ตามทะเบียนบ้านในเขต รับผิดชอบ) แต่ทะเบียนบ้านอยู่นอกเขตรับผิดชอบ 4 = ที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบและทะเบียนบ้านไม่อยู่ในเขต รับผิดชอบ เข้ามารับบริการหรือเคยอยู่ในเขตรับผิดชอบ 5 = มาอาศัยในเขตรับผิดชอบแต่ไม่ได้อยู่ตามทะเบียนบ้านในเขต รับผิดชอบ เช่น คนเร่ร่อน ไม่มีที่พักอาศัย เป็นต้น

2. ADDRESS ข้อมูลที่อยู่ของผู้ที่มารับบริการที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบ หรือประชาชนที่อาศัยในเขตรับผิดชอบแต่มีทะเบียนบ้านอยู่นอกเขตรับผิดชอบ ประกอบด้วย 1) ประชาชนทุกคนที่อาศัยในเขตรับผิดชอบ แต่มีทะเบียนบ้านอยู่นอกเขตรับผิดชอบ 2) ผู้มารับบริการที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบ ลักษณะแฟ้ม : แฟ้มสะสม 1. เก็บข้อมูลโดยการสำรวจ กำหนดให้ทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ภายในเดือนสิงหาคม และปรับฐานข้อมูลให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 1 ตุลาคม ของทุกปี 2. กรณีที่มีผู้มารับบริการรายใหม่ที่ยังไม่เคยขึ้นทะเบียน หรือมีการปรับแก้ข้อมูลพื้นฐานของผู้รับบริการรายเดิม ให้ปรับปรุงข้อมูลเพิ่มเติมและส่งให้ส่วนกลาง

สิ่งที่จำเป็นต้องบันทึก ประเภทของที่อยู่ ลักษณะของที่อยู่

3. DEATH ข้อมูลประวัติการเสียชีวิตของประชาชนทุกคนที่อาศัยในเขตรับผิดชอบ และผู้ป่วยที่มารับบริการ ประกอบด้วย 1) ประชาชนทุกคนที่อาศัยในเขตรับผิดชอบ 2) ผู้มารับบริการที่อาศัยอยู่นอกเขตรับผิดชอบ ลักษณะแฟ้ม : แฟ้มสะสม 1. เก็บข้อมูลโดยการสำรวจ กำหนดให้ทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ภายในเดือนสิงหาคม และปรับฐานข้อมูลให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 1 ตุลาคม ของทุกปี 2. กรณีที่มีผู้เสียชีวิตหลังเดือนสิงหาคม ให้ปรับปรุงข้อมูลเพิ่มเติมและส่งให้ส่วนกลางภายในรอบของเดือนนั้น ๆ 3. กรณีที่มีผู้มารับบริการแล้วเสียชีวิตรายใหม่ หรือมีการปรับแก้ข้อมูลพื้นฐานของผู้รับบริการที่เสียชีวิตรายเดิม ให้ปรับปรุงข้อมูลเพิ่มเติมและส่งให้ส่วนกลาง

สิ่งที่จำเป็นต้องบันทึก สถานบริการที่เสียชีวิต เลขที่ผู้ป่วยใน (AN) (กรณีเสียชีวิตในโรงพยาบาล) วันที่ตาย รหัสโรคที่เป็นสาเหตุการตาย_a สาเหตุการตาย การตั้งครรภ์และการคลอด สถานที่ตาย

5. CARD ข้อมูลประวัติการมีหลักประกันสุขภาพของประชาชนทุกคน ที่อาศัยในเขตรับผิดชอบ และผู้ป่วยที่มารับบริการ ประกอบด้วย 1) ประชาชนทุกคนที่อาศัยในเขตรับผิดชอบ 2) ผู้ป่วยที่มารับบริการที่อาศัยอยู่นอกเขต รับผิดชอบ ลักษณะแฟ้ม : แฟ้มสะสม 1. เก็บข้อมูลโดยการสำรวจ กำหนดให้ทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ภายในเดือนสิงหาคม และปรับฐานข้อมูลให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 1 ตุลาคม ของทุกปี 2. กรณีที่มีผู้มารับบริการรายใหม่ที่ยังไม่เคยขึ้นทะเบียน หรือมีการปรับปรุงแก้ไขข้อมูลพื้นฐานของผู้รับบริการรายเดิม ให้ปรับปรุงข้อมูลเพิ่มเติมและส่งให้ส่วนกลางภายในรอบของเดือนนั้น ๆ

สิ่งที่จำเป็นต้องบันทึก ประเภทสิทธิการรักษา (รหัสเดิม) ประเภทสิทธิการรักษา สถานบริการหลัก

22. HOME ข้อมูลที่ตั้งและสุขาภิบาลของหลังคาเรือนในเขตรับผิดชอบ ลักษณะแฟ้ม : แฟ้มสะสม 1.เก็บข้อมูลโดยการสำรวจ กำหนดให้ทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ภายในเดือนสิงหาคม และปรับฐานข้อมูลให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 1 ตุลาคม ของทุกปี 2.กรณีที่มีหลังคาเรือนใหม่ที่ยังไม่เคยขึ้นทะเบียน หรือ มีการปรับแก้ข้อมูลพื้นฐานของหลังคาเรือนเดิม ให้ปรับปรุงข้อมูลเพิ่มเติมและส่งให้ส่วนกลางภายในรอบของเดือนนั้น ๆ

สิ่งที่จำเป็นต้องบันทึก รหัสบ้าน ประเภทที่อยู่ ตำบล อำเภอ จังหวัด เบอร์โทรศัพท์ พิกัดที่ตั้งของครัวเรือน (ละติจูด) พิกัดที่ตั้งของครัวเรือน (ลองจิจูด) จำนวนครอบครัว ที่ตั้ง

ช้างโปรเจค

หน่วยบริการที่ติดตั้งโปรเจคช้าง เพิ่มเติม รพ.เอราวัณ รพ.ปากชม

ส่วนงานที่เพิ่มเติมจากครั้งที่แล้ว โรคเรื้อรัง ทะเบียนคลินิกพิเศษ เบาหวาน ทะเบียนคลินิกพิเศษ เบาหวาน รักษาที่ รพ. ทะเบียนคลินิกพิเศษ ความดัน ทะเบียนคลินิกพิเศษ ความดัน รักษาที่ รพ. ทะเบียนคลินิกพิเศษ อื่นๆ

ข้อมูลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้ป่วยนัดประจำเดือน ผู้ป่วยขาดนัด NCD รายชื่อผู้มีภาวะซึมเศร้า ผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน เบาหวาน/ความดัน คัดกรองภาวะแทรกซ้อน เบาหวาน/ความดัน ปิงปองจราจร ๗ สี ของ โรงพยาบาล

ทะเบียนคลินิกพิเศษ เบาหวาน

ทะเบียนคลินิกพิเศษ เบาหวาน รักษาที่ รพ.

ทะเบียนคลินิกพิเศษ ความดัน

ทะเบียนคลินิกพิเศษ ความดัน รักษาที่ รพ.

ทะเบียนคลินิกพิเศษ อื่นๆ

ผู้ป่วยนัดประจำเดือน

ผู้ป่วยขาดนัด NCD

คัดกรองภาวะแทรกซ้อนเบาหวาน/ความดัน

ปิงปองจราจร ๗ สี

ปิงปองเขียวเข้ม พร้อมส่งคืน รพ.สต. แสดงข้อมูล ค่าน้ำตาลปกติ 2 ครั้งล่าสุดที่เป็นคลินิคเบาหวาน (ค่าน้ำตาล < 130 mg/dL) และค่าความดันโลหิตปกติ 2 ครั้งล่าสุดที่เป็นคลินิคความดัน (ค่าความดัน bps < 140 mmHg และ bpd < 90 m

รายงานในโปรแกรม HOSxP / HOSxP_PCU

รายงาน WECANDO

ส่งรายงานออก Excel File

กรองรายงาน ตามตำบล หมู่บ้าน ที่ อสม.ผิดชอบ

บ้านรับผิดชอบของ อสม.

ชุดคำสั่ง SQL ที่ใช้ตรวจสอบ หลังคาเรือนที่ อสม. รับผิดชอบ ซ้ำกัน คลิกขวา Exel Export ซ้ำกัน

มาร์คหลังที่จะลบ

ชุดคำสั่ง sql ใช้ลบข้อมูล กรณีมี house_id ที่ซ้ำกัน (จากไฟล์ Excel Export) ตัวเลขจากมาร์คไว้

ชุดคำสั่ง sql ตรวจสอบ อสม รหัสหมู่บ้าน บ้านเลขที่