กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

สรุปภาพรวมการเรียนรู้
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การขับเคลื่อนการพัฒนากระบวนการคิด
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
รายงานการวิจัย.
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ สวัสดี ผมชื่อเฟยเฟย 你好!我是飞飞。
สรุปภาพรวมการเรียนรู้
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน
โครงงาน “นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์”
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
โครงงาน ระบบงานที่สร้างสรรค์. ภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้ การออกแบบระบบงาน และพัฒนา งานจำเป็นต้องศึกษา รายละเอียดของงาน โดย ทำการศึกษางานเดิม เขียนผัง ระบบงานงานเดิม.
หน่วยการเรียนรู้ คืออะไร
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
แผนการเรียนรู้ เรื่อง การจัดองค์ประกอบของการถ่ายภาพ
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
โครงงาน : นำเที่ยวงานชมรมนิทรรศน์
การสร้างประสบการณ์ทางการฟัง
สรุปภาพรวมของหน่อยการเรียนรู้
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
Research & Development รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์ มสธ.
การเตรียมการนำเสนอผลงานของ PCT และระบบสำคัญ
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
“เทคนิคการเป็นพิธีกรมืออาชีพ” ดร.สมเดช รุ่งศรีสวัสดิ์
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การเขียนรายงานการวิจัย
ความก้าวหน้าการนำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ สูการปฏิบัติ
1 การจับความรู้ที่เกิดขึ้นหลังการทำกิจกรรม ของทีมทำงานรวมทั้งทบทวนและสะท้อน บทเรียนนำไปสู่การวางแผนต่อไป การให้ข้อมูลป้อนกลับอย่างเป็นระบบกับ ทีมงานในเรื่องผลการปฏิบัติ
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
หน่วยที่ 3 สื่อการเรียนรู้สำหรับคอมพิวเตอร์พกพา (Tablet) กิจกรรมที่2 การผลิต การใช้ การประเมินผล สื่อ ICT.
ทบทวนทฤษฎีหลักสูตร ดร.อมรา เขียวรักษา.
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบการทำโครงงาน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
เทคนิคการฝึกอบรมที่เน้นผู้เข้ารับการอบรม
วิชาคอมพิวเตอร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 นางพวงเพ็ญ อินทร์เอี่ยม
รูปแบบการสอน.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
เรื่องราวทางสังคม (SOCIAL STORY)
กิจวัตรและกิจกรรมในหนึ่งวันของเด็กๆ
ความหมายของการวิจารณ์
สิ่งดีๆจากการทำงานแผน
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
ประมวลผลการเรียนรู้ การพัฒนาหลักสูตร E Learning "นพลักษณ์ฯ ขั้นต้น” 5 มิถุนายน -18 กันยายน 2551 สวทช. นำประสบการณ์จากกิจกรรมเชื่อโยงกับ Core Competency.
บทบาทสมมติ (Role Playing)
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
การเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา
ความหมายของการวิจารณ์
ตวงรัตน์ นิ่มแสง L.T. ผู้ตรวจการลูกเสือประจำสำนักงานลูกเสือแห่งชาติ
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
โรงเรียนสายธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชุดเรียนรู้สร้างเสริมสุขภาพช่องปากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1- 6
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (R2R)
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
บทที่ 7 การวิจัยเชิงสืบเสาะ : การวิจัยเชิงคุณภาพ
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต ใน 8 สาระการเรียนรู้ อุบลวรรณ แสนมหายักษ์

กิจกรรมที่เสริมสร้างทักษะชีวิต มีสาระเรื่องราวสถาการณ์ คำถามคิดวิเคราะห์เชื่อมโยงสู่การใช้ชีวิตผู้เรียน มีส่วนร่วม คิด พูด วิพากษ์วิจารณ์ ทำ สร้างสรรค์

คำถามที่เสริมสร้างทักษะชีวิต R = Reflect = สะท้อน C = Connect = เชื่อมโยง A = Apply = ปรับใช้

คำถาม R : Reflect : การสะท้อน ลักษณะคำถาม R – C – A คำถาม R : Reflect : การสะท้อน เป็นคำถามที่ให้ผู้เรียนได้สะท้อนความรู้สึกหรือมุมมองของตนเองที่เกิดขึ้นระหว่างปฏิบัติกิจกรรม เป็นการถามถึงสิ่งที่ผู้เรียนสังเกตเห็น มองเห็น สัมผัสได้ หรือถามถึงความรู้สึกของผู้เรียนที่เกิดขึ้นขณะร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ในกิจกรรมครั้งนั้น ๆ (ปัจจุบันนั้น)

ตัวอย่าง “ในขณะทำกิจกรรม มีคำพูดใดบ้างที่ทำให้นักเรียนสบายใจ ทำไมจึงรู้สึกอย่างนั้น” “ในขณะฟังข่าว เธอเชื่อทันทีหรือไม่ เพราะเหตุใด” “ปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียนวันนี้ เกิดจากสาเหตุใด” “มีความรู้สึกอย่างไรที่ได้รับมอบหมายจากเพื่อนให้ไปรายงานหน้าชั้นเรียน”

คำถาม C : Connect : เชื่อมโยง เป็นคำถามที่ให้ผู้เรียนได้นึกย้อนความรู้ ประสบการณ์ที่เคยมีมาก่อน (ความรู้ / ประสบการณ์เดิม) แล้วนำมาเชื่อมโยงกับความรู้ ความคิด หรือประสบการณ์ ที่เกิดจากการเรียนรู้ในชั่วโมงเรียนนั้น

กิจกรรมที่ 2 สะท้อน : Reflect ประยุกต์ : Connect ปรับใช้ : Apply กลุ่มวิเคราะห์เพื่อจำแนกประเภทของคำถาม สะท้อน : Reflect ประยุกต์ : Connect ปรับใช้ : Apply

*ใช้คำถามการสนทนา “ชวนคิดชวนคุย” หลังเสร็จสิ้นกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้คำถาม R-C-A *ใช้คำถามการสนทนา “ชวนคิดชวนคุย” หลังเสร็จสิ้นกิจกรรมการเรียนรู้ *ประเด็นคำถามนำไปสู่การพัฒนา/สร้างทักษะชีวิต (พฤติกรรมทักษะชีวิต 4 องค์ประกอบ”

ประเด็นคำถามต้องถามต่อเนื่องสู่พฤติกรรมทักษะชีวิต พฤติกรรมใด พฤติกรรมหนึ่ง R : Reflect C : Connect A : Apply นักเรียนรู้สึกอย่างไรที่ถูกรบกวนในขณะทำงาน - ฟังเพลง - อ่านหนังสือ - จดบันทึก ฯลฯ ที่ผ่านๆ มา นักเรียนเคยทำงานไม่สำเร็จ เพราะถูกรบกวน/ มีสิ่งอื่นมารบกวนบ้างหรือไม่ ถ้าเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวกับนักเรียนอีก จะมีวิธีจัดการหรือแก้ไขปัญหาการถูกเพื่อนรบกวนนั้นอย่างไร (โดยไม่เสียสัมพันธภาพและงานของเราก็สำเร็จด้วย) การควบคุมตนเอง

ในระหว่างทำงาน นักเรียนรู้สึกว่ามีปัญหาระหว่างเพื่อนหรือไม่ R : Reflect C : Connect A : Apply ในระหว่างทำงาน นักเรียนรู้สึกว่ามีปัญหาระหว่างเพื่อนหรือไม่ ที่ผ่านมานักเรียนเคยมีปัญหาที่เกิดจากการไม่พอใจคำพูดของเพื่อนหรือไม่ คำพูดนั้นว่าอย่างไร ในโอกาสต่อไป ถ้ารู้ว่าเพื่อนน้อยใจ เสียใจจากคำพูดของเรา นักเรียนจะปฏิบัติต่อเพื่อนอย่างไร รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา

ในกลุ่มของนักเรียนมีวิธีการเลือกผู้นำกลุ่มอย่างไร R : Reflect C : Connect A : Apply ในกลุ่มของนักเรียนมีวิธีการเลือกผู้นำกลุ่มอย่างไร ที่ผ่านๆ มา นักเรียนเคยมีโอกาสเลือกผู้นำหรือไม่ เลือกอย่างไร ถ้านักเรียนมีโอกาสได้เป็นผู้นำ นักเรียนจะมีวิธีการทำงานอย่างไร การเป็นผู้นำ ผู้ตามที่ดี การเห็นคุณค่าของตนเองและผู้อื่น

ตัวอย่าง วิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง ความผิดปกติและโรคทางพันธุกรรม 1.มาตรฐานการเรียนรู้ (ว.1.2) 2.ตัวชี้วัด อภิปรายโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซมและนำความรู้ไปใช้ประโยชน์

3.จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จำแนกและอธิบายความผิดปกติของพันธุกรรม/โครโมโซม 3.2 สืบค้นข้อมูลและยกตัวอย่างความผิดปกติ

4. สาระเนื้อหา 4.1 ความผิดปกติทางพันธุกรรม 4.2 โรคทางพันธุกรรม 5. ชิ้นงาน - แฟ้ม ความรู้เกี่ยวกับโรคทางพันธุกรรม

6. กิจกรรมการเรียนรู้ 6.1 สนทนา ทบทวนบทเรียนเรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 6.2 แบ่งกลุ่มศึกษา สืบค้น เรื่องความผิดปกติ/โรคทางพันธุกรรม

6.3 นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอข้อมูลจากการสืบค้น 6.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกโรคทางพันธุกรรมที่เกิดจากความผิดปกติทางโรคโมโซมแบบต่าง ๆ กลุ่มละ 1 โรค (อาการ สาเหตุ การรักษา วิธีการที่ผู้ป่วยใช้ชีวิต ฯลฯ)

6.5 นำข้อมูลมาทำแฟ้มโรคทางพันธุกรรม รูปแบบต่าง ๆ (E – book, หนังสือ, รูปภาพประกอบบทความ ฯลฯ) 6.6 แบ่งปัน แลกเปลี่ยน เรียนรู้ รูปแบบพื้นฐาน 6.7 สรุปความรู้ร่วมกัน

คำถาม R “นักเรียนรู้สึกกังวล เป็นทุกข์ ท้อในการสืบค้นข้อมูล บ้างหรือไม่” “ถ้าหากเราปล่อยให้เกิดทุกข์ใจบ่อย ๆ ท้อแท้บ่อย ๆ จะเกิดอะไร ขึ้นกับตัวเรา” C ในสถานการณ์ที่ผ่าน ๆ มา เคยมีเหตุการณ์อะไรบ้างที่ตนเองหรือบุคคล อื่นมีความสุข A ในโอกาสต่อไปถ้านักเรียนเป็นทุกข์ หรือรู้สึกเครียด จะมีวิธีคลายเครียด ให้กับตนเอง หรือสร้างสุขให้กับตนเองและคนรอบข้างอย่างไรบ้าง?

กิจกรรมที่ 3 ฝึกการตั้งคำถาม R – C – A ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

   พฤติกรรมทักษะชีวิตเป็นอย่างไร? จะจัดกิจกรรมอย่างไร ใช้สื่ออะไร สร้างทักษะชีวิต?   มีสิ่งใดที่บ่งบอกว่า “ผู้เรียน” มีทักษะชีวิต?

สวัสดีค่ะ