สิทธิประโยชน์ที่รัฐจัดให้ .. ท่าน(ผู้สูงอายุ) ได้อะไร

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บูรณาการสู่ความสำเร็จ
Advertisements

วิสัยทัศน์ มุ่งสู่สังคมคุณภาพบนพื้นฐานความรับผิดชอบร่วมกัน
นำเสนอโดย นางสงวนศรี พลดอน พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลปัตตานี
นโยบายและงานเร่งด่วนของกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕
กายภาพบำบัด ใน โรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพตำบล
แผนการดำเนินงาน สคร.5 ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ หมายเหตุ 1
โครงการพัฒนาโรงพยาบาลราชบุรี บริการฉับไว ไร้ความแออัด
ดร. ธนวรรธน์ อิ่มสมบูรณ์
ตามขั้นตอนการให้บริการสาธารณสุข สิทธิสวัสดิการพนักงานส่วนท้องถิ่น
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข
มีสวัสดิการและสิทธิประโยชน์อะไรบ้าง
ความเป็นมา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
จะต้องผ่านเกณฑ์ด้านการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาวที่กำหนดไว้ทั้ง 4 ข้อ
โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
“ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ”
“นโยบายและการบริการภาครัฐสำหรับผู้สูงอายุ”
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคทั่วไป (ยกเว้นค่าบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน)
ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์
โครงการกรมการแพทย์ พัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ แบบเบ็ดเสร็จ ปี 2551
แนวนโยบายโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่
ชุมชนคลองตาแป้น ศูนย์บริการสาธารณสุข 62 ตวงรัชฏ์ ศศะนาวิน ภักดี ฐานปัญญา
การพัฒนาเครือข่ายในระบบบริการ สาธารณสุขให้มีการพัฒนาระบบ บริการสุขภาพจิตและจิตเวช สำหรับ รพศ. รพท. รพช. รพสต. พรประไพ แขกเต้า งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน.
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
นพ.วินัย ศรีสอาด สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์
คลินิกผู้สูงอายุ อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ผู้สูงอายุไทยในทศวรรษหน้า
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล
ระดับท้องถิ่น/พื้นที่
เขต 15 เขต 15: เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน.
การดำเนินการ รพ.สต. เขตตรวจราชการ ที่ 12
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ภารกิจ อสม.งานประจำ/งานนโยบาย
น.พ. ศิริวัฒน์ ทิยพ์ธราดล
คลินิกผู้สูงอายุต้นแบบ (Geriatric Clinic Model) โรงพยาบาลอุดรธานี
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สสจ.อุดรธานี
โครงสร้างสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ตัวชี้วัด เป้าหมาย แนวทางดำเนินงาน ของกลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
ย.๔ พัฒนาระบบบริการสุขภาพวัยรุ่นในสถานบริการ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการศึกษาพิเศษ
สรุปผลการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อคุ้มครอง
แนวทางการปฏิบัติภารกิจ ของสถานีอนามัย
การจัดบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุไทย
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แนวทางการดำเนินงานผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556
เพิ่มภาพ แผนที่ตำบล หรือภาพกิจกรรมชมรมสูงอายุในพื้นที่
นพ.นิทัศน์ รายยวา 3 ตุลาคม 2556
บทบาทท้องถิ่นกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
องค์ประกอบและระยะเวลาที่ เปลี่ยนแปลง  จากมีวาระ 2 ปี เป็น 4 ปี  เพิ่ม ผู้แทนหน่วยรับเรื่องร้องเรียน อิสระ หรือศูนย์ประสานงานภาค ประชาชน หรือองค์กรเอกชนด้าน.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
บริการพยาบาลด้วยใจ ให้เข้าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฎหมาย
สรุปผลงานส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ประจำปีงบประมาณ พ. ศ โครงการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ประจำปี 2555 ระยะเวลาดำเนินการ วันที่ 1.
การพัฒนางานสุขภาพจิต วัยทำงาน - สูงอายุ
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
นโยบายกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554
มาตรการป้องกันควบคุม โรคติดต่อในช่วงฤดูฝน - ให้คปสอ. ทุกแห่งเร่งรัดดำเนินการดังนี้ ๑. การป้องกัน (Protection) ๑. ๑ สนับสนุนการฝึกอบรมแก่บุคลากรทางการแพทย์ด้านการ.
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
การพัฒนาระบบบริการทุติยภูมิและปฐมภูมิ
ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนผู้สูงอายุและผู้พิการ ประจำปีงบประมาณ 2555
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข ปี 2551 ปี 2551 เอกสารหมายเลข 1.
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ NATIONAL HEALTH SECURITY OFFICE การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2555 เสนอในการประชุมชี้แจงจังหวัด ระหว่างวันที่ 5-6 ตุลาคม.
มโนทัศน์เกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550
Company LOGO รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน 20 ตุลาคม 2557.
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
สิทธิสวัสดิการช่วยเหลือในการรักษาพยาบาล
“สังคมคุณภาพเพื่อผู้สูงอายุ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สิทธิประโยชน์ที่รัฐจัดให้ .. ท่าน(ผู้สูงอายุ) ได้อะไร นพ.รัฐพล เตรียมวิชานนท์ พบ.วว.เวชปฏิบัติทั่วไป/เวชศาสตร์ครอบครัว ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 13กรุงเทพมหานคร 19 มีนาคม 2556

สถานการณ์ ผู้สูงอายุในประเทศไทย

ความมั่นคงของมนุษย์ Human Security  ความมั่นคงของมนุษย์ หมายถึง การที่ประชาชนได้รับหลักประกันด้านสิทธิความปลอดภัย การสนองตอบต่อความจำเป็นขั้นพื้นฐาน สามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีศักด์ศรี ตลอดจนได้รับโอกาสอย่างเท่าเทียมกันในการพัฒนาศักยภาพของตนเอง                   ที่มา : ความมั่นคงของมนุษย์ประเทศไทย ปี 2551, ปี 2552 สำนักมาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนษย์ สำนักงานปลัดกระทรวงกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

มิติที่อยู่อาศัย       มิติสุขภาพอนามัย       มิติการศึกษา      มิติการมีงานทำและรายได้       มิติความมั่นคงส่วนบุคคล       มิติครอบครัว       มิติการสนับสนุนทางสังคม       มิติสังคม-วัฒนธรรม       มิติสิทธิและความเป็นธรรม       มิติการเมืองและธรรมาภิบาล

สิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ผู้สูงอายุ มีสิทธิได้รับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนในด้านต่างๆ 1. การบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุเป็นกรณีพิเศษ 2. การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิต 3. การประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม 4. การพัฒนาตนเองและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมการรวมกลุ่มในลักษณะเครือข่ายหรือชุมชน 5. การอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือการบริการสาธารณะอื่น 6. การช่วยเหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะตามความเหมาะสม 7. การยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ

สิทธิประโยชน์ของผู้สูงอายุตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ผู้สูงอายุ มีสิทธิได้รับการคุ้มครอง การส่งเสริม และการสนับสนุนในด้านต่างๆ 8. การช่วยเหลือผู้สูงอายุซึ่งได้รับอันตรายจากการถูกทารุณกรรมหรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือถูกทอดทิ้ง 9. การให้คำแนะนำ ปรึกษา ดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้องในทางคดีหรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว 10. การจัดที่พักอาศัยอาหารและเครื่องนุ่งห่มให้ตามความจำเป็นอย่างทั่วถึง 11. การสงเคราะห์เบี้ยยังชีพตามความจำเป็นอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม 12. การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี 13. ผู้อุปการะเลี้ยงดูบุพการีซึ่งเป็นผู้สูงอายุที่ไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับการลดหย่อนภาษี ตามประมวลรัษฎากร

สวัสดิการ ด้านการรักษาพยาบาล สิทธิ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ( บัตรทอง ) รัฐจัดให้ (สอบถาม 1330 ) สวัสดิการรักษาพยาบาล ข้าราชการ รัฐวิสาหกิจ รัฐจัดให้ รักษาความเจ็บป่วยทางกาย เจ็บป่วยทั่วไป โรคเรื้อรัง โรคร้ายแรงเช่น ไตวาย มะเร็ง กรณีฉุกเฉิน การเจ็บป่วยจิตใจ เช่นโรคเครียด ซึมเศร้า ตามสิทธิ การฟื้นฟูสุขภาพ กายอุปกรณ์กรณีพิการ (ไม่รวมการพักฟื้น สถานรับดูแลช่วงเวลากลางวัน day care ) ประกันค่ารักษาพยาบาล เอกชน เป็นส่วนที่ต้องรับผิดชอบเอง

การสร้างเสริมสุขภาพ ตรวจสุขภาพ คัดกรองต้อกระจก (ไม่รวมแว่นสายตายาว ) การฉีดวัคซีนป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ การทำฟันปลอมทั้งปาก เพื่อการบดเคี้ยวอาหาร เข้าร่วมชมรมสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ การเยี่ยม บริการที่บ้านกรณีเจ็บป่วยที่จำเป็นต้องดูแลต่อเนื่อง เช่นพยาบาลทำแผล กายภาพบำบัด เภสัชกรเยี่ยมที่บ้าน การดูแลวาระสุดท้ายอย่างประคบประคอง Palliative Care ที่บ้าน กรณีโรคร้ายแรงเช่น มะเร็ง

โครงการดูแลปัญหาจากการใช้ยาในผู้ป่วยเฉพาะราย ในชุมชน เขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร

นศ.เภสัชฯ อสส.

อุปกรณ์ มอบให้ผู้ป่วย ชุมชนบึงพระราม 9 อุปกรณ์ มอบให้ผู้ป่วย

ยา Metformin 782 เม็ด ชุมชนวังทอง

อบรม ประชาชน และ อสส เรื่อง การใช้ยาอย่างถูกต้องและปลอดภัย

ผลงานปี 2553 จำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขที่ส่งต่อ case 12 แห่ง จำนวนชุมชนที่เข้าร่วมโครงการ 41 ชุมชน จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการเยี่ยม 500 คน เขตราชเทวี จำนวน 13 ราย เขตบางนา จำนวน 24 ราย เขตดอนเมือง จำนวน 167 ราย เขตลาดพร้าว จำนวน 146 ราย เขตห้วยขวางจำนวน 46 ราย เขตธนบุรีจำนวน 40 ราย เขตจตุจักร จำนวน 28 ราย เขตวัฒนาจำนวน 13 ราย เขตพญาไทจำนวน 29 ราย เขตบางแคจำนวน 10 ราย จำนวนชุมชน 41 ชุมชน

ภาพถ่ายการปฏิบัติงานใน Call Center โทรศัพท์/โทรสาร 02-434-1588

Case conference ระหว่างนักกายภาพบำบัด กับหน่วยงานส่งต่อผู้ป่วย

นักกายภาพออกตรวจประเมิน ผู้ป่วยที่ discharge จากโรงพยาบาล หลังได้รับการส่งต่อ

นักกายภาพบริการกายภาพบำบัด ที่บ้านให้แก่ผู้ป่วย

นักกายภาพบำบัดให้ความรู้ในชุมชน

ผลงานปี 2553 เดือน/จำนวน ธค. 52 มค. 53 กพ. 53 มีค. 53 เมย. 53 พค. 53 ผู้ป่วยเข้าร่วมโครงการ 1,065 คน จำนวนครั้งการให้บริการ 6,735 ครั้ง มีคนไข้ที่จำหน่ายจากโครงการไปแล้ว 399 คน ยังคงอยู่ในโครงการ 666 คน เดือน/จำนวน ธค. 52 มค. 53 กพ. 53 มีค. 53 เมย. 53 พค. 53 มิย. 53 กค. 53 สค. 53 ก.ย. จำนวนผู้ป่วยใหม่ 388 89 61 50 46 47 69 73 173 จำนวนผู้ป่วยรวม 477 538 588 634 681 750 819 892 1,065

สวัสดิการค่าครองชีพ สิทธิการลดหย่อนภาษี เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ลดหย่อนภาษีกรณี เป็นผู้ดูแลพ่อแม่

rattaphon.t@nhso.go.th โทร 02 – 142 1000