Background / Story Board / Character

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

การใส่ลูกเล่นให้กับงานนำเสนอ
ผู้แต่ง : Andy Wyatt พิมพ์ที่ ประเทศอังกฤษ โดย บริษัท Thames&Hudson Ltd.
ประโยชน์ของ เครื่องโปรเจคเตอร์
การเขียนหุ่นนิ่งรวม.
การวาดเส้นองค์ประกอบศิลป์
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
เรื่อง กระต่ายกับเต่า เวอร์ชั่นปัจจุบัน
หลักการจัดทำสตอรี่บอร์ดสื่อมัลติมีเดีย
องค์ประกอบของมัลติมีเดีย
การทำภาพ animation โดยใช้
เลือกภาพที่จะทำการตัด
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
การใช้งาน Microsoft PowerPoint
Basic Graphics by uddee
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความสำคัญของภาพ กับการผลิตรายการโทรทัศน์
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
ลักษณะเวทีและการจัดที่นั่งผู้ชมในโรงละคร
โปรแกรมกราฟิก illustrator cs3
2. เลนส์ปกติ หรือเลนส์มาตรฐาน (Normal lens or Standard lens)
ของฝากจากอาจารย์อ้อ ชุดที่25 เทคนิคการนำเสนองานด้วย Power Point
การออกแบบสื่อการเรียนรู้
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
ง30216 การสร้างเกมคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การเชื่อมเหตุการณ์ เวลา สถานที่ (Transition)
ศัพท์ทางเทคนิคกับการถ่ายทำและควบคุมกล้อง
บทที่ 9 การเตรียมตัวก่อนการนำเสนอ
บทที่ 8 การใส่ลูกเล่นในการนำเสนอ
ส่วนประกอบ ของ Window 05/04/60
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
บทที่ 4 Power Point ขั้นตอนการทำสไลด์ รายละเอียดหน้าจอของ Power Point
ภาพฉายหลายมุมมอง (Multiview Projection )
การใช้ MS PowerPOint 2003 การสร้างงานนำเสนอใหม่
การใช้ MS PowerPoint 2003 การสร้างงานนำเสนอใหม่
นางสาวอรปรียา พ่างจันทร์ เลขที่ 26
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสร้างภาพเคลื่อนไหว
ประเภทของแอนิเมชั่นใน Flash
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
โดย นายธวัชชัย ฝ่ายพลแสน
ขนาดภาพ.
เทคนิควิธี การซ้อนภาพให้ดูเนียน ด้วย โปรแกรม PhotoShop
การจัดองค์ประกอบของภาพ
Tip & Trick ตัดต่อ และซ้อนภาพ ปรับแต่งภาพให้สีสันสดใส
ความหมายของแอนิเมชัน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
การถ่ายวีดีโอ.
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
ความรู้พื้นฐานของระยะภาพ
BSRU Animation STUDIOS
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
การเคลื่อนไหวของกล้อง
บทที่8 การเขียน Storyboard.
การสร้างสรรค์บทละคร.
องค์ประกอบของบทละคร.
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
การเขียนบทวิทยุกระจายเสียง. ขั้นตอนการเขียนบทรายการวิทยุ ขั้นเริ่มต้นแนวคิด (Begin with idea) จะเป็น การบอกแนวทาง ขอบเขตและการวาง แผนการผลิตในอนาคต.
Lighting Designer นักออกแบบแสง.
เทคนิคการถ่ายภาพทิวทัศน์-บุคคล ในเวลากลางวันและกลางคืน
(Demonstration speech)
เทคนิคการสื่อสารกับผู้ปกครอง (Communication Skill)
บทที่ 2 การเข้าสู่โปรแกรม Microsoft Office Word 2003
การเขียนบทโฆษณา และการผลิตภาพยนตร์โฆษณา
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
บทที่ 9 แอนิเมชั่น Animation อ.ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล
การเขียนบทสำหรับสื่อ
บทที่ 7 การเขียนบทรายการวิทยุโทรทัศน์เพื่อการ ประชาสัมพันธ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Background / Story Board / Character

หลักการสร้าง Animation Animation คือ การนำภาพนิ่งหลาย ๆ ภาพมาวางเรียงต่อกัน เพื่อทำให้เกิดการเคลื่อนไหวอย่างต่อเนื่อง โดยรูปแบบการเคลื่อนไหวแบบ 2 มิติ หรือ 3 มิติ ขึ้นอยู่กับการเลือกใช้โปรแกรมในการสร้าง เช่น Adobe Photoshop, Adobe Flash ,SwishMax หรือโปรแกรม 3 มิติ เช่น 3D Studio Max ตัวอย่าง ภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame by Frame

Storyboard การสร้าง Animation ต้องลำดับเรื่องราว ให้สามารถเขียนบท และวาดลำดับเรื่องราว กำหนดฉาก มุมกล้อง แล้วจึงวาดตัวละคร และทำ Animation เพื่อให้รูปแบบการนำเสนอ Animation น่าสนใจ ไม่น่าเบื่อ ซึ่งจะประกอบด้วย ส่วนเปิดเรื่อง ส่วนเนื้อเรื่อง และส่วนปิดเรื่อง

การออกแบบ Character วาดโครงร่างเพื่อกำหนดสัดส่วน ตัวละคร วาดส่วนต่าง ๆ ที่ละส่วนตามลำดับชั้นงาน ส่วนใดที่มีการทำ ภาพเคลื่อนไหวหรือมีการขยับ ให้แยก Layer นำภาพที่เตรียมไว้มาประกอบกันแล้วเก็บไว้เป็นต้นแบบสำหรับ เปลี่ยนเป็นท่าทาง รูปร่าง หน้าตา อื่น ๆ

การออกแบบ หน้าตา และอารมณ์ ส่วนประกอบของการแสดงอารมณ์ อยู่ที่หน้าตา ทรงผม ปาก โครงหน้า ต้องแยกชิ้นส่วนในการวาดไว้ เพื่อสร้าง Animation ภายหลัง ซึ่งใน ส่วนของหน้าตาจะมีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ต่างจากส่วนอื่น ๆ ตัวอย่าง การสร้าง ตัวละครต้นแบบอารมณ์ต่าง ๆ

การกำหนดมุมกล้องแบบต่าง ๆ มุมกล้องแบบ MS (Medium Short) เป็นมุมที่เห็นภาพครึ่งตัว ใช้ในการแสดงสีหน้าตัวละครว่าเป็นอย่างไร มุมกล้องแบบ CU (Close Up) เป็นมุมที่เน้นเฉพาะส่วนที่ต้องการให้คนดูสนใจ เช่น หน้า ตา หรือการแสดงอารมณ์ มุมกล้องแบบ ECU (Extreme Close Up) เป็นมุมที่เน้นเฉพาะจุดเพื่อให้รู้ว่าเหตุการณ์อะไร

การกำหนดมุมกล้องแบบต่าง ๆ (ต่อ) มุมกล้องแบบ LS (Long Shot) เป็นมุมที่บอกบรรยากาศ บอกเหตุการณ์ว่าตัวละครอยู่ที่ใด มุมกล้องแบบ ELS (Extreme Long Shot) เป็นมุมที่บอกบรรยากาศมุมกว้าง

การแสดงภาพในมุมมองแบบต่าง ๆ มุมมองผ่านด้านหลัง เช่น การสนทนา มุมมองชัดลึก หน้าเบลอ หลังชัด มุมมองชัดตื้น หน้าชัด หลังเบลอ มุมมองแบบ Bird Eye view มองจากที่สูง

เทคนิคการทำ Animation แบบต่าง ๆ แบบ Zoom In และ Zoom Out จับภาพเฉพาะจุดที่สนใจ หรือจับภามุมกว้าง ใช้หลักการย่อขยายที่ Frame ปลายทาง แบบการแพนกล้อง (Pan) เช่น การแพนมุมกล้องไปทาง ด้านซ้าย ขวา ขึ้นบนลงล่าง ในที่นี้ ต้องเตรียมภาพที่มีความยาวมาก ๆ ไว้

เทคนิคการทำ Animation แบบต่าง ๆ(ต่อ) 3. แบบการทิลท์กล้อง (Tilt) เช่น การเคลื่อนไหวแทนสายตาของตัวละคร ขึ้นลง ต้องเตรียมภาพในแนวตั้งให้มีความสูง 4. การดอลลี่กล้อง (Dolly) คือ การที่ตัวละครอยู่นิ่ง ๆ แล้วฉากเคลื่อนที่ ทำให้ดูเหมือนตัวละครขยับจริง ในตัว Animation ตัวละครอาจ ทำเป็นแบบ Frame by frame เพื่อให้เห็นการเคลื่อนไหวเล็กน้อย

การจัดองค์ประกอบฉาก วาดฉากให้สอดคล้องกับมุมมองต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ใน Storyboard รูปแบบของภาพที่วาด ภาพเดียวสามารถปรับเปลี่ยนได้หลายรูปแบบ

Background / Story Board / Character The End