สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการริเริ่มสร้างสรรค์เพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน ปี ๒๕๕๗
Advertisements

โครงการฝึกอบรม การบริหารทรัพยากรบุคคล เชิงยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดอุดรธานี วันที่ ๑๙ มีนาคม ๒๕๕๖ ณ โรงแรมต้นคูณ อำเภอเมืองอุดรธานี
โครงการพัฒนาฝ่าย/ศูนย์ ในสังกัดสถาบันวิจัยและพัฒนา ณ อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ ด้วยกิจกรรม 5 ส โดย นาง พจนันท์ ร่มสนธิ์ (เลขานุการสถาบันวิจัยและพัฒนา)
ผลการประเมินคุณภาพด้วยวาจา
เทคนิคการบริหารงานด้านการเงินและบัญชี
สำนักบริหารงานศิลปวัฒนธรรม
โครงการ “เวทีพบปะ HR ระดับต้น”
ที่มาของระบบควบคุมภายใน
โดย คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก
ตัวชี้วัดที่ 9 : ร้อยละความสำเร็จ ในการให้ความร่วมมือดำเนินงานตามคู่มือปฏิบัติงานกระบวนการ ที่สร้างคุณค่า และกระบวนการสนับสนุนของกรมอนามัย.
หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผล การปฏิบัติราชการข้าราชการและ พนักงานราชการกรมควบคุมโรคประจำปีงบประมาณ 2557.
การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและร่วมติดตาม ตรวจสอบผลการปฏิบัติราชการ วันที่ 29 มกราคม 2551.
ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการก้าวสู่ การเป็นหน่วยงานจัดการความรู้ดีเด่น
การพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ
แผนที่ยุทธศาสตร์สำนักพัฒนาโครงสร้างและระบบบริหารงานบุคคล
การเสริมประสิทธิภาพการวัด และประเมินผลในชั้นเรียน
การเสนอกระบวนงานบริการเพื่อขอรับการประเมิน
สถานีอนามัยสมอพลือ อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี.
โครงการ : การพัฒนาและ ปรับปรุงการทำงานด้วย Challenge โดย สำนักงานพัฒนา ชุมชนอำเภอเด่นชัย.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การโดยสรุป 1 หน้า
มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร
เพ็ญศรี คำเหล็ก พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ ทีมบริหารลูกค้าสัมพันธ์(CRM)
การตรวจวัดสภาพ ผลการดำเนินงานองค์กร
ผังจุดหมายปลายทางการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ภายในปี 2554 (ระยะ 4 ปี) เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2552 ระดับประชาชน (มุมมองเชิงคุณค่า) ประชาชน.
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 8 จังหวัดนครสวรรค์
สรุปผลการจัดทำ(ร่าง)แผนยุทธศาสตร์(พ.ศ )
รายงานการวิจัย การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ปีงบประมาณ พ.ศ.2552 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร.
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
ประเด็นการประเมิน : คุณภาพการให้บริการ ตัวชี้วัด : 3
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
ความคาดหวังหลังการประชุมฯ ครั้งนี้
กลุ่มที่ ๓ เรื่อง โรคไม่ติดต่อ
สรุปการประเมินกระบวนการทำงานส่งเสริมสุขภาพ เรื่อง แผนบูรณาการในภาพรวม
สรุปประเด็นการประชุมสัมมนากลุ่มย่อย
องค์กรนำการปศุสัตว์ไทย
การรายงานผลการจัดการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา
สรุปการวิเคราะห์ความสำเร็จและโอกาสพัฒนาในโครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ ในภาพรวมของเขต 10 สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 เชียงใหม่
นโยบาย “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” เขตสาธารณสุข 4
การพัฒนาคุณภาพตามเกณฑ์ PCA หน่วยบริการปฐมภูมิ
โครงการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร (Enterprise Risk Management : ERM) สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
แผนพัฒนาโรงเรียนสัมมาชีวศิลป ปีการศึกษา 2542 ?
ขั้นตอนการบริหารกิจกรรม 5ส
การจัดการความรู้ด้านสุขภาพ
การติดตามประเมินผล โครงการให้วัคซีนป้องกัน โรคไข้หวัดใหญ่
ข้อเสนอแนะและปัจจัยแห่งความสำเร็จ
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
มาตรฐานการควบคุมภายใน
โครงการการพัฒนางานเชิงระบบ โดยกระบวนการวิจัยในงานประจำ (R2R)
พัฒนาการสื่อสารงานผู้ป่วยใน โรงพยาบาลบ้านเขว้า
พวกเรามีความเห็นว่า เป็นอย่างไร ?.
สิ่งที่ต้องทำต่อ 1.นำเสนอผลสำเร็จของนโยบาย ปี นำเสนอนโยบายปี 55 และตัวชี้วัด สำคัญ ตามใบงานที่ 7 8และ 9 ประธาน : นพ.สสจ. วันที่ 13 ก.ย.54 เวลา 13.00น.
เอกสารประกอบการประชุมคณะทำงานเพื่อจัดทำ ตัวชี้วัดและระบบการบริหาร ผลการ ปฏิบัติราชการ ของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ เกษตรกรรม สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
จะเริ่มอย่างไร ? จุดเริ่มต้นของการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ อยู่ที่การกำหนดค่ากลางของความสำเร็จของโครงการสุขภาพระดับเขต เพื่อส่งมอบให้จังหวัดนำเข้าสู่กระบวนการ(1)
จัดการความรู้เรื่องอะไร ? มีองค์กรใดบ้างที่ตั้งแต่ทำงานมา ไม่ได้ใช้ความรู้ อะไรเลย ? หรือ มีองค์กรใดบ้างที่ไม่เคยรู้ว่ามี ความรู้อะไรบ้างที่จำเป็นสำหรับการทำงานใน.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ครั้งที่ 1/2556
พรทิพย์ ศิริภานุมาศ กองแผนงาน กรมควบคุมโรค
สรุปผลการประเมิน ยุทธศาสตร์สุขภาพระดับตำบล อำเภอเรณูนคร ปี 2554
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
ผังจุดหมายปลายทางการจัดการสุขภาพ จังหวัดสุรินทร์ ภายในปี 2555
แนวทางการจัดทำแผน ยุทธศาสตร์ การพัฒนาบุคลากร สถาบัน ธัญญารักษ์ และศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ภูมิภาค 17 – 18 มกราคม 2549 ห้องประชุม 2 / 2 สถาบันธัญญารักษ์
สรุปแผน / ผลการปฏิบัติงาน ประจำปี งบประมาณ พ. ศ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดพัทลุง ( ฝ่ายบริหารทั่วไป / กลุ่มส่งเสริม สหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 30 เมษายน.
กลุ่มวิจัยและพัฒนาสหกรณ์
การพัฒนาระบบการประเมินผลตัวชี้วัด แผนยุทธศาสตร์องค์กรสาธารณสุขน่าน ปี สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน นายแชน อะทะไชย นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ.
รายละเอียดของระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หมวด 5 การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
ยุทธศาสตร์พัฒนาชุมชนน่าอยู่ เมืองน่าอยู่ ผลงาน ปี 2551 แผนงาน ปี 2552 ศูนย์อนามัยที่ 9 พิษณุโลก 2 กันยายน 2551.
จุดเน้น ด้านการบริหารจัดการ
ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ / กรม
โครงการจัดตั้ง กองแผนงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 สรุปผลการดำเนินงาน 5 ส. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556

Culture & Creative value กรอบแนวคิด สะสาง สะดวก สะอาด Economy Efficiency Effectiveness สุขลักษณะ สร้างนิสัย คุณภาพ องค์กร Standard Culture & Creative value สนุกคิด สร้างสรรค์ สามัคคี

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 ผลการตรวจประเมิน 5 ส. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 ภายในอาคารสำนักงาน แยกรายชั้น ร้อยละ

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 ผลการตรวจประเมิน 5 ส. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 ภายในอาคารสำนักงาน แยกรายโซนสี

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 ผลการตรวจประเมิน 5 ส. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 ภายนอกอาคารสำนักงาน ร้อยละ

ความสำเร็จตามตัวชี้วัด เป้าหมาย ผล ผ่านเกณฑ์ 1. คะแนนประเมิน 5 ส. ของทุกพื้นที่ (Zone) เพิ่มขึ้น (จาก 38% เป็น 55.3%) √ 2. มีการแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องตามคำแนะนำ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ร้อยละ 65.25 3. เกิดผลงานเด่น 5 ส. ใน สสจ.อน. ไม่น้อยกว่า 3 เรื่อง - X 4.พื้นที่ย่อยภายในโซนมีคะแนนประเมินเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70 ร้อยละ 68 5.ทุกเขตพื้นที่ (Zone) มีคะแนนประเมินเพิ่มขึ้น 7 Zone 5 Zone 6.มีการแสดงความคิดเห็นเรื่อง 5 ส.ผ่านช่องทางต่างๆไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง 10 เรื่อง 18 เรื่อง 7.ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมและการบริการ ร้อยละ 80 ไม่ได้ประเมิน **

ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานีมีความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย มีสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่ดีในการทำงาน (ผลการตรวจประเมินครั้งที่ 2 ร้อยละ 55.30 เพิ่มขึ้นจากครั้งที่ 1 (ร้อยละ 38.00) 2. เจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานีมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ ในการแสดงความคิดเห็นและขับเคลื่อนกิจกรรม 5 ส. (มีการแสดงความคิดเห็น ผ่านช่องทางต่าง ๆ และการแสดงความคิดเห็นในการประชุมคณะกรรมการ 5 ส. ทุกชุด และการประชุมเชิงปฏิบัติการ 5 ส.ทุกครั้ง) 3. เจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานีมีจิตสำนึก มีความตระหนักและให้ความร่วมมือในการพัฒนาองค์กรไปสู่องค์กรแห่งความสุข (Happy workplace) บุคลากรทำงานเป็นทีม เกิดความสามัคคี มีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันระหว่างบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ และทุกคนในทุกระดับตั้งแต่ผู้ปฏิบัติระดับล่างจนถึงผู้บริหารมีส่วนร่วมในกิจกรรม 5 ส.

บทเรียนที่ได้จากการพัฒนางาน (1) บุคลากรให้ความสำคัญกับเรื่องโครงสร้างของสถานที่เป็นอันดับแรก เมื่อพบปัญหาโครงสร้างอาคาร และสิ่งสนับสนุนต่าง ๆ เช่น หลังคารั่ว ขาดสถานที่เก็บสิ่งของ บุคลากรส่วนใหญ่จึงขาดขวัญกำลังใจในการ ดำเนินงาน 5 ส. แต่เมื่อมีกิจกรรมส่งเสริมประชาสัมพันธ์ มีการดำเนิน กิจกรรมร่วมกันและมีการปรับปรุงโครงสร้างสำนักงาน และสิ่งสนับสนุน ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง จึงได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี การจัดระบบบริหารจัดการภายใน สสจ.อน.ให้เอื้อต่อการดำเนิน กิจกรรม 5 ส. เป็นปัจจัยที่สำคัญในการสร้างนวตกรรมด้าน 5 ส. จำเป็นต้องมีการสร้างความเข้าใจในการแบ่งเขตพื้นที่และผู้รับผิดชอบโดยใช้ระบบคุณภาพแบบแมทริกซ์ให้แก่เจ้าหน้าที่ทุกคนทราบ

บทเรียนที่ได้จากการพัฒนางาน (2) 4. ผู้รับผิดชอบ 5 ส.ควรมีการกำหนดวัน Big cleaning day ร่วมกันกับทุก ฝ่ายเพื่อให้เจ้าหน้าที่ทุกคนมีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างเต็มที่ ที่ผ่าน มาเจ้าหน้าที่ติดภารกิจหลัก จึงทำให้ผลการประเมินครั้งที่ 2 ในพื้นที่ 2 โซน ได้แก่ ด้านข้างอาคาร และสนามฟุตบอล มีคะแนนลดลงจากการ ตรวจประเมินครั้งแรก 5. การสื่อสารข้อมูลย้อนกลับ เช่น ผลการตรวจประเมิน ทำได้ยาก เนื่องจากผู้รับผิดชอบพื้นที่ย่อยมีจำนวนมาก การคืนข้อมูลทำได้เพียงผ่านระบบหนังสือราชการ ช่องทางสื่อสารทางอินเตอร์เนต หรือ facebook ไม่ได้รับความสนใจจากบุคลากรมากนัก การจัดบอร์ดต่าง ๆ ยังทำได้ไม่เพียงพอและไม่ทันต่อสถานการณ์