สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 สรุปผลการดำเนินงาน 5 ส. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556
Culture & Creative value กรอบแนวคิด สะสาง สะดวก สะอาด Economy Efficiency Effectiveness สุขลักษณะ สร้างนิสัย คุณภาพ องค์กร Standard Culture & Creative value สนุกคิด สร้างสรรค์ สามัคคี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 ผลการตรวจประเมิน 5 ส. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 ภายในอาคารสำนักงาน แยกรายชั้น ร้อยละ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 ผลการตรวจประเมิน 5 ส. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 ภายในอาคารสำนักงาน แยกรายโซนสี
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 ผลการตรวจประเมิน 5 ส. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ปี 2556 ภายนอกอาคารสำนักงาน ร้อยละ
ความสำเร็จตามตัวชี้วัด เป้าหมาย ผล ผ่านเกณฑ์ 1. คะแนนประเมิน 5 ส. ของทุกพื้นที่ (Zone) เพิ่มขึ้น (จาก 38% เป็น 55.3%) √ 2. มีการแก้ไขปรับปรุงข้อบกพร่องตามคำแนะนำ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ร้อยละ 65.25 3. เกิดผลงานเด่น 5 ส. ใน สสจ.อน. ไม่น้อยกว่า 3 เรื่อง - X 4.พื้นที่ย่อยภายในโซนมีคะแนนประเมินเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70 ร้อยละ 68 5.ทุกเขตพื้นที่ (Zone) มีคะแนนประเมินเพิ่มขึ้น 7 Zone 5 Zone 6.มีการแสดงความคิดเห็นเรื่อง 5 ส.ผ่านช่องทางต่างๆไม่น้อยกว่า 10 เรื่อง 10 เรื่อง 18 เรื่อง 7.ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมและการบริการ ร้อยละ 80 ไม่ได้ประเมิน **
ผลลัพธ์ของการดำเนินงาน 1. สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานีมีความสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อย มีสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่ดีในการทำงาน (ผลการตรวจประเมินครั้งที่ 2 ร้อยละ 55.30 เพิ่มขึ้นจากครั้งที่ 1 (ร้อยละ 38.00) 2. เจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานีมีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์ ในการแสดงความคิดเห็นและขับเคลื่อนกิจกรรม 5 ส. (มีการแสดงความคิดเห็น ผ่านช่องทางต่าง ๆ และการแสดงความคิดเห็นในการประชุมคณะกรรมการ 5 ส. ทุกชุด และการประชุมเชิงปฏิบัติการ 5 ส.ทุกครั้ง) 3. เจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานีมีจิตสำนึก มีความตระหนักและให้ความร่วมมือในการพัฒนาองค์กรไปสู่องค์กรแห่งความสุข (Happy workplace) บุคลากรทำงานเป็นทีม เกิดความสามัคคี มีการดำเนินกิจกรรมร่วมกันระหว่างบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ และทุกคนในทุกระดับตั้งแต่ผู้ปฏิบัติระดับล่างจนถึงผู้บริหารมีส่วนร่วมในกิจกรรม 5 ส.
บทเรียนที่ได้จากการพัฒนางาน (1) บุคลากรให้ความสำคัญกับเรื่องโครงสร้างของสถานที่เป็นอันดับแรก เมื่อพบปัญหาโครงสร้างอาคาร และสิ่งสนับสนุนต่าง ๆ เช่น หลังคารั่ว ขาดสถานที่เก็บสิ่งของ บุคลากรส่วนใหญ่จึงขาดขวัญกำลังใจในการ ดำเนินงาน 5 ส. แต่เมื่อมีกิจกรรมส่งเสริมประชาสัมพันธ์ มีการดำเนิน กิจกรรมร่วมกันและมีการปรับปรุงโครงสร้างสำนักงาน และสิ่งสนับสนุน ต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง จึงได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดี การจัดระบบบริหารจัดการภายใน สสจ.อน.ให้เอื้อต่อการดำเนิน กิจกรรม 5 ส. เป็นปัจจัยที่สำคัญในการสร้างนวตกรรมด้าน 5 ส. จำเป็นต้องมีการสร้างความเข้าใจในการแบ่งเขตพื้นที่และผู้รับผิดชอบโดยใช้ระบบคุณภาพแบบแมทริกซ์ให้แก่เจ้าหน้าที่ทุกคนทราบ
บทเรียนที่ได้จากการพัฒนางาน (2) 4. ผู้รับผิดชอบ 5 ส.ควรมีการกำหนดวัน Big cleaning day ร่วมกันกับทุก ฝ่ายเพื่อให้เจ้าหน้าที่ทุกคนมีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมได้อย่างเต็มที่ ที่ผ่าน มาเจ้าหน้าที่ติดภารกิจหลัก จึงทำให้ผลการประเมินครั้งที่ 2 ในพื้นที่ 2 โซน ได้แก่ ด้านข้างอาคาร และสนามฟุตบอล มีคะแนนลดลงจากการ ตรวจประเมินครั้งแรก 5. การสื่อสารข้อมูลย้อนกลับ เช่น ผลการตรวจประเมิน ทำได้ยาก เนื่องจากผู้รับผิดชอบพื้นที่ย่อยมีจำนวนมาก การคืนข้อมูลทำได้เพียงผ่านระบบหนังสือราชการ ช่องทางสื่อสารทางอินเตอร์เนต หรือ facebook ไม่ได้รับความสนใจจากบุคลากรมากนัก การจัดบอร์ดต่าง ๆ ยังทำได้ไม่เพียงพอและไม่ทันต่อสถานการณ์