โครงการส่งเสริมให้ผู้ ประกอบในกลุ่มนิคม อุตสาหกรรมพื้นที่มาบ ตาพุด เพิ่มอัตราการ นำน้ำกลับมาใช้ใหม่ ปี
1. ความเป็นมาของ โครงการ 1.1 จากปัญหาภัยแล้งและการขาดแคลนน้ำใน ภาคตะวันออกที่นับวันจะทวีความรุนแรงมาก ขึ้นจากผลกระทบภาวะโลกร้อน แนวทาง หนึ่งที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำใน โรงงานได้คือ การนำน้ำที่เกิดจากโรงงาน กลับมาใช้ใหม่ให้ได้มากที่สุด ตามหลักการ 3Rs และ Zero discharge 1.2 บันทึกข้อตกลงการประเมินผลการ ดำเนินงานรัฐวิสาหกิจประจำปี 2555 กำหนดให้ กนอ. ศึกษาแนวทางการส่งเสริม ให้ผู้ประกอบในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมพื้นที่ มาบตาพุดเพิ่มอัตราการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ และนำเสนอคณะกรรมการ กนอ. พิจารณา อนุมัติใช้ในปี 2556
2. พื้นที่โครงการกลุ่มนิคมฯ มาบตาพุด
3. ผลการสำรวจข้อมูล กลุ่ม อุตสาหกร รม ปริมาณ น้ำดิบ ( ลบ. ม./ ปี ) ปริมาณ น้ำประปา ( ลบ. ม./ ปี ) ปริมาณ น้ำเสีย ( ลบ. ม./ วัน ) การนำน้ำกลับมา ใช้ใหม่ เทียบกับปริมาณ น้ำเสีย (%) ปิโตร เคมี Av g 3,060, ,395 1,270, % เคมีภัณ ฑ์ Av g 962, , , % เหล็ก Av g 387, , , % Best Practice จาก ต่างประเท ศ * 90% *Best Practice จากต่างประเทศอยู่ในอัตรา 90% สำหรับ ทั้ง 3 กลุ่มอุตสาหกรรม โดยเฉพาะโรงงานในกลุ่ม อุตสาหกรรมเหล็กบางแห่งสามารถทำได้ถึงระดับ Zero Discharge ประเทศสหรัฐอเมริกา (U.S. Environmental Protection Agency) ประเทศญี่ปุ่น (Japan’s Industrial Water Use Database) ประเทศจีน (China’s Water Conservation Guideline) และองค์กรน้ำนานาชาติ (International Water Association) ผลการสำรวจข้อมูลการใช้น้ำของผู้ประกอบการในกลุ่ม นิคมอุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด แยกตามประเภทปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และเหล็ก
เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2555 กนอ. ได้จัดสัมมนาเพื่อสื่อสารถึง ผู้ประกอบการในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมพื้นที่ มาบตาพุดให้เห็นชอบถึงความแตกต่าง ระหว่างสถานภาพการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ ในปัจจุบัน และ Best Practice ผู้ประกอบการมีความเข้าใจถึงความจำเป็น ของการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ เพื่อเป็นการ เตรียมความพร้อมสำหรับภัยแล้งและปัญหา น้ำขาดแคลนในอนาคต ผู้ประกอบการอยากให้ กนอ. มีมาตรการ สนับสนุนด้านเศรษฐศาสตร์ เช่น การนำ ค่าใช้จ่ายในการลงทุนระบบรีไซเคิลน้ำไป หักลดหย่อนภาษี การจัดหาแหล่งเงินกู้ ดอกเบี้ยต่ำ เป็นต้น 3. ผลการสำรวจข้อมูล
กนอ. ได้ศึกษาสิทธิประโยชน์ของหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง พบว่า ผู้ประกอบการที่ลงทุนติดตั้งระบบรีไซเคิลน้ำ สามารถขอยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็น ระยะเวลา 8 ปีเป็นสัดส่วนร้อยละ 100 ของเงิน ลงทุน ตามประกาศ BOI ที่ 6/2554 เรื่อง “ การแก้ไข เพิ่มเติมมาตรการแก้ไขปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม กรณีการลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องจักรของ โครงการที่มีอยู่เดิมเพื่อลดผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อม ” ข้อ “ เรื่องการส่งเสริมการ ลงทุนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ” 3. สิทธิประโยชน์ที่ เกี่ยวข้อง
4. ข้อกฎหมาย มาตรา 23 แห่ง พ. ร. บ. กนอ. พ. ศ และที่แก้ไข เพิ่มเติม คณะกรรมการ กนอ. มีอำนาจในการวาง นโยบายและควบคุมดูแล โดยทั่วไป
5. แนวทางการ ส่งเสริม กนอ. พิจารณาแล้ว เห็นควรกำหนดแนวทางการ ส่งเสริมผู้ประกอบการเพิ่มอัตราการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ ปี 2556 ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การประกาศเจตจำนง ผู้ประกอบในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมพื้นที่มาบตาพุด ประกาศเจตจำนงความมุ่งมั่นในการเพิ่มอัตราการนำน้ำ กลับมาใช้ใหม่ กิจกรรมที่ 2 การส่งเสริมให้ความรู้ ส่งเสริมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบในกลุ่มนิคมอุตสาหกรรม พื้นที่มาบตาพุดด้านระบบรีไซเคิลน้ำหรือแนวทางลด การใช้น้ำในกระบวนการผลิต รวมถึงแหล่งข้อมูลผู้ ประกอบธุรกิจด้านเทคโนโลยีการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ กิจกรรมที่ 3 การสร้างแรงจูงใจด้านเศรษฐศาสตร์ ประสานกับ BOI หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในการให้ สิทธิพิเศษแก่ผู้ประกอบการที่จะลงทุนระบบรีไซเคิลน้ำ หรือแนวทางลดการใช้น้ำในกระบวนการผลิต เช่น การ ลดหย่อนภาษี เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ เป็นต้น
6. เป้าหมายการ ดำเนินการ กลุ่ม อุตสาหกรรม จำนวนโรงงาน ในปัจจุบัน เป้าหมาย สัดส่วนโรงงาน ที่ประกาศ เจตจำนง ภายในปี 2556 เป้าหมาย อัตราการนำ น้ำกลับมาใช้ ใหม่ ภายในปี 2557 ปิโตรเคมี 3100%50% เคมีภัณฑ์ 8080%30% เหล็ก 11100%30% เป้าหมายการนำน้ำกลับมาใช้ใหม่ในเบื้องต้น