โครงการประชุมชี้แจง “เจ้าหน้าที่ส่วนราชการเพื่อเตรียม ความพร้อมสำหรับการปฏิบัติงานตาม ร่าง พ.ร.บ. กลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ ตาม พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อ พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2548
Advertisements

งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
การปรับเปลี่ยนการดำเนินการ ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล
ยินดีต้อน เข้าสู่ โครงงาน.
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ. สิทธิประโยชน์ เมื่อพ้นสมาชิกภาพ.
วิธีการยื่นเรื่อง ขอรับเงินคืน.
การปฏิรูประบบบำเหน็จบำนาญ เกี่ยวข้องกับ กบข. อย่างไร
ข้อควรปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กบข.
โครงการปัจฉิมนิเทศสมาชิก กบข. และอบรมเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กบข.
แนวทางแก้ไขปัญหา ให้กับสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ.
งานกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหารการ จัดการฯ ผลงาน ณ เดือน เมษายน 2551.
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
สิทธิของข้าราชการทหาร
วันที่ 25 มีนาคม 2556.
แนวทางการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อมก่อน - หลังเกษียณอายุ
การขอเบิกเงินนอกงบประมาณ
การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษ
การเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณปี 2556 ณ วันที่ 4 มิ.ย. 2556
งานกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการฯ
นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์
เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีสุรา
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
The Comptroller General’s Department
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว ของข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ (ฉบับที่ 5) พ.ศ
การแต่งตั้งข้าราชการ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
การประชุมชี้แจง การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี และ การขยายเวลาเบิกจ่ายเงิน
พระราชกฤษฎีกาเงินช่วยค่าครองชีพ ผู้รับเบี้ยหวัด บำนาญ พ.ศ. 2521
บำเหน็จค้ำประกัน ก.บริหารทรัพยากรบุคคล 7 ก.พ
ความคิดเห็นของข้าราชการเกี่ยวกับ สวัสดิการการรักษาพยาบาล พ.ศ. 2546
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
สรุปผลการสำรวจ ความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สิงหาคม.
ข้อมูลเศรษฐกิจการค้า
ความก้าวหน้าระดับความสำเร็จ การปฏิบัติราชการของปฏิรูปที่ดิน จังหวัด 5 ครั้ง ณ 30 มิถุนายน 2555 สำนักวิชาการและ แผนงาน.
ระเบียบสำนักงานประกันสังคมว่าด้วย การเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 แห่งพระราชบัญญัติประกันสังคม พ.ศ พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่ 26 ตุลาคม.
โครงการเกษียณอายุก่อนกำหนด ในส่วนของกรมบัญชีกลาง
เรื่อง พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
กรมบัญชีกลาง The Comptroller General’s Department
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
ข้อเปรียบเทียบ สำหรับข้าราชการ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย
ข้อเปรียบเทียบ การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ และสำนักกฎหมาย
ณ ห้องประชุมตำรวจภูธรจังหวัดลำพูน ระหว่างวันที่ 25 ธันวาคม 2557
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับ การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ก่อนและหลัง การประกาศสงครามขั้นแตกหักเพื่อเอาชนะยาเสพติด) พ.ศ สำนักงานสถิติแห่งชาติ
สรุปผลการสำรวจ ความคิดเห็นของประชาชน
นักวิชาการเงินและบัญชี ชำนาญการพิเศษ สพม. 34 เบอร์ติดต่อ
การประชุมชี้แจง การปฏิบัติงานเรื่องการกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญตามพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2494 พ.ศ.2557 ในวันพุธที่ 3 ธันวาคม 2557.
กลุ่มงานทะเบียนประวัติและเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การดำเนินการ ของส่วนราชการผู้เบิกบำนาญ ในระบบ GFMIS
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
Payroll.
แนวทางการเบิกจ่ายเงินอุดหนุน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจำปี 2555
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
การปรับเงินเดือน กรณีที่เงินเดือนยังไม่ถึงขั้นต่ำของระดับ
สุทธิรัตน์ รัตนโชติ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
บำเหน็จบำนาญ และ UNDO สุริยงค์ ลูกจันทร์ สำนักงานคลังเขต 4.
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) และการดำเนินการกลับไปใช้สิทธิ์ฯ (ระบบUNDO) 1.
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) และการดำเนินการกลับไปใช้สิทธิ์ฯ (ระบบUNDO) ออกใบรับแบบ 1.
ระบบบำเหน็จบำนาญ (e-pension) และการดำเนินการกลับไปใช้สิทธิ์ฯ (ระบบUNDO) กรณีเลือก ผู้รับเบี้ยหวัด / ประจำรอบที่ / ใบสรุปประจำรอบ 1.
ผลการประเมิน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข การเลื่อนเงินเดือนประการอื่น ๆ
การปรับเปลี่ยนลูกจ้าง ชั่วคราวเข้าสู่การเป็น พนักงานกระทรวง สาธารณสุข
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการประชุมชี้แจง “เจ้าหน้าที่ส่วนราชการเพื่อเตรียม ความพร้อมสำหรับการปฏิบัติงานตาม ร่าง พ.ร.บ. กลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ ตาม พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. ....” กลุ่มงานวิชาการด้านการคลังการบัญชี สำนักงานคลังจังหวัดบุรีรัมย์

ขอบเขตเนื้อหา - ร่าง พ.ร.บ. การกลับไปใช้สิทธิในบำเหน็จบำนาญ ตาม พ.ร.บ. บำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ. ... - ร่าง หลักเกณฑ์และวิธีการแสดงความประสงค์ ขอใช้สิทธิรับบำนาญ ตาม พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ พ.ศ. 2494 ... - แนวปฏิบัติการเตรียมความพร้อม

-ร่าง- พระราชบัญญัติการกลับไป ใช้สิทธิ ในบำเหน็จบำนาญ ตามพระราชบัญญัติบำเหน็จ บำนาญข้าราชการ พ.ศ. 2494 พ.ศ....

Undo : สูตรบำนาญ 50 50 วิธีการ กลับไปใช้ สูตรเดิม สูตรบำนาญดั้งเดิมตาม พรบ.บำเหน็จบำนาญ 2494 เงินเดือน ๆ สุดท้าย X อายุราชการ 50 ไม่เกิน 100% เงินเดือน เมื่อข้าราชการออกจากราชการจะได้รับ บำนาญสูตรดั้งเดิม รายเดือน เสียชีวิตเท่านั้น สูตรบำนาญสมาชิก กบข. เงินเดือน เฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย X อายุราชการ 50 ไม่เกิน 70% เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย ส่งผลให้บำนาญสูตร กบข. < บำนาญสูตรดั้งเดิม รัฐชดเชยให้ 1. ให้เงินประเดิม 2% + ดอกผล 2. ให้เงินชดเชย 2% + ดอกผล + รัฐจูงใจให้ออม 3. เงินสะสม 3% (ปัจจุบัน 15 %) + ดอกผล 4. ให้เงินสมทบ 3% + ดอกผล เมื่อข้าราชการที่เป็นสมาชิก กบข.ออกจากราชการจะได้รับ 1. บำนาญสูตร กบข.รายเดือน เสียชีวิต และ 2. เงินก้อน เงินประเดิม + ดอกผล เงินชดเชย + ดอกผล เงินสะสม + ดอกผล เงินสมทบ + ดอกผล วิธีการ กลับไปใช้ สูตรเดิม

ผู้มีสิทธิ Undo ข้าราชการ ผู้รับบำนาญ สมาชิก กบข. 1,187,668 คน 977,709 สมัครใจ 767,867 คน ข้าราชการ สมาชิก กบข. 1,187,668 คน ตามกฎหมาย 419,801 คน 977,709 คน สมัครใจ 209,842 คน ผู้รับบำนาญ สมาชิก กบข. 211,472 คน ตามกฎหมาย 1,630 คน

เหตุผลที่ต้องมีโครงการ Undo ? เพื่อให้ ข้าราชการ ผู้รับบำนาญ และ ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด (รับราชการก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540 และเป็นสมาชิก กบข. แบบสมัครใจ) สามารถกลับไปใช้สิทธิ พ.ร.บ. บำเหน็จบำนาญ 2494 ได้

(รับราชการก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540) ผู้มีสิทธิ Undo 1. ข้าราชการ 2. ผู้รับบำนาญ 3. ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด **ที่เป็นสมาชิก กบข. แบบสมัครใจ** (รับราชการก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540)

ข้าราชการ 1.1 ข้าราชการ ให้แสดงความประสงค์ได้ตั้งแต่ วันที่ พ.ร.บ. (รับราชการก่อน 27 มีนาคม 2540 และ สมัครใจเป็นสมาชิก กบข.) ให้แสดงความประสงค์ได้ตั้งแต่ วันที่ พ.ร.บ. มีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 30 กันยายน 2557

ข้าราชการ 1.2 ข้าราชการที่ออกจากราชการไปเนื่องจาก ไปรับราชการตาม กม.ว่าด้วยการรับราชการทหาร ได้รับอนุมัติจาก ครม. ให้ปฏิบัติงานใด ๆ ซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้นเหมือนเต็มเวลาราชการ ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน อยู่ในระหว่างร้องทุกข์หรืออุทธรณ์คำสั่งให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากราชการ (ก่อนหรือในวันที่ พ.ร.บ.นี้มีผลใช้บังคับ และ กลับเข้ารับราชการหลังวันที่ 30 กันยายน 2557) ให้แสดงความประสงค์ ภายใน 60 วันนับแต่วันที่กลับเข้ารับราชการ

ให้แสดงความประสงค์ได้จนถึง ข้าราชการ 1.3 ข้าราชการที่ออกจากราชการนอกจากข้อ 1.2 ไม่ว่ากรณีใด ๆ หลังวันที่ พ.ร.บ. มีผลใช้บังคับ จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 ยกเว้น กรณีถึงแก่ความตาย หรือ ถูกลงโทษไล่ออกจากราชการ ให้แสดงความประสงค์ได้จนถึง วันก่อนออกจากราชการ

ผู้รับบำนาญ 2. ผู้รับบำนาญ ให้แสดงความประสงค์ได้ตั้งแต่ วันที่ พ.ร.บ. (ซึ่งเคยเป็นสมาชิก กบข. และรับบำนาญสูตร กบข.) ให้แสดงความประสงค์ได้ตั้งแต่ วันที่ พ.ร.บ. มีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2557

ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด 3. ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด 3.1 มีความประสงค์จะกลับไปใช้สิทธิรับบำนาญเหตุทดแทน ตาม พ.ร.บ. 2494 ให้แสดงความประสงค์ได้ตั้งแต่ วันที่ พ.ร.บ. มีผลใช้บังคับ ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2557 3.2 กรณีออกจากกองหนุนเบี้ยหวัดเพื่อรับ บำนาญเหตุทดแทนก่อนวันที่ 30 มิถุนายน 2557 ให้แสดงความประสงค์ได้จนถึงวันก่อนวันออกจากกองหนุนเบี้ยหวัด เพื่อรับบำนาญเหตุทดแทน

การแสดงความประสงค์ ให้แสดงความประสงค์ต่อส่วนราชการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลังกำหนด ผู้ได้แสดงความประสงค์ไว้แล้ว จะถอนคืนการแสดงความประสงค์ไม่ได้ ถ้าผู้แสดงความประสงค์ ถึงแก่ความตายก่อน 1 ต.ค. 57 ให้ถือว่าการแสดงความประสงค์เป็นอันสิ้นผล

การสิ้นสุดสมาชิกภาพ กบข. 1.1 ข้าราชการ (สมาชิก กบข. แบบสมัครใจ) สิ้นสุดลงตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2557 1.2 ข้าราชการที่ออกจากราชการไปเนื่องจาก... (รับราชการทหาร/ ครม.อนุมัติให้ไปปฏิบัติงานใด ๆ/ ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน อยู่ระหว่างร้องทุกข์ หรือ อุทธรณ์คำสั่งให้ออก ปลดออก หรือไล่ออก และ กลับเข้ารับราชการหลัง 30 กันยายน 2557) สิ้นสุดลงตั้งแต่วันถัดจากวันแสดงความประสงค์ต่อส่วนราชการ 1.3 ข้าราชการที่ออกจากราชการด้วยเหตุอื่นนอกจากข้อ1.2 สิ้นสุดลงตั้งแต่วันออกจากราชการ

สิทธิในการรับบำนาญ พ.ร.บ. 2494 1. ข้าราชการ (สมาชิก กบข. แบบสมัครใจ) ตั้งแต่วันออกจากราชการ 2. ผู้รับบำนาญ (รับบำนาญสูตร กบข.) 3. ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด ตั้งแต่วันออกจากกองหนุนเบี้ยหวัด เพื่อรับบำนาญเหตุทดแทน

สิทธิเกี่ยวกับเงินจาก กบข. 1. ข้าราชการ (สมาชิก กบข. แบบสมัครใจ) - มีสิทธิได้รับเฉพาะเงินสะสมและ ผลประโยชน์ของเงินสะสม ไม่มีสิทธิได้รับเงินสมทบ เงินประเดิม เงินชดเชย และผลประโยชน์ของเงินดังกล่าว

สิทธิเกี่ยวกับเงินจาก กบข. 2. ผู้รับบำนาญ (รับบำนาญสูตร กบข.) - ต้องคืนเงินสมทบ เงินประเดิม เงินชดเชย และผลประโยชน์ ของเงินดังกล่าว และเงินบำนาญที่ได้รับตาม พ.ร.บ.2539 โดยวิธีการหักกลบลบกันกับเงินบำนาญ พ.ร.บ.2494 - ไม่ต้องคืนเงินสะสม และผลประโยชน์ของเงินสะสม ซึ่งได้รับไปแล้ว - กรณีหักกลบลบกันแล้ว “ต้องคืนเงิน” ให้ส่งคืนแก่ส่วนราชการภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2557

สิทธิในการได้รับเงินจาก กบข. 3. ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด - ไม่มีสิทธิได้รับเงินประเดิม เงินชดเชย และผลประโยชน์ ของเงินดังกล่าว และต้องคืนเงินสมทบและผลประโยชน์ของ เงินสมทบ ให้แก่ส่วนราชการภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2557 - สำหรับทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัดซึ่งออกจากกองหนุน เบี้ยหวัดเพื่อรับบำนาญเหตุทดแทนก่อนวันที่ 30 มิถุนายน 2557 ให้คืนเงินสมทบและผลประโยชน์แก่ส่วนราชการ ในวันก่อนออกจากกองหนุนเบี้ยหวัด เพื่อรับบำนาญเหตุทดแทน

การแสดงความประสงค์สิ้นผล (ถ้า) 1. ถึงแก่ความตายก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2557 2. ไม่คืนเงินให้ส่วนราชการภายในกำหนดเวลา กรณีคืนเงินซึ่งได้ส่งคืนให้แก่ส่วนราชการแล้ว แต่ผู้แสดงความประสงค์ถึงแก่ความตาย ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2557 กรมบัญชีกลางจะจ่ายคืนให้ผู้มีสิทธิรับมรดกของ ผู้รับบำนาญ/ผู้รับเบี้ยหวัด ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

เงินที่ส่วนราชการได้รับต้องนำส่งคลังหรือไม่ เงินที่ส่วนราชการได้รับจาก - ผู้รับบำนาญ / ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัด เงินที่กรมบัญชีกลางได้รับจากส่วนราชการ - ตามมาตรา 13 (ผู้รับบำนาญส่งคืน) - ตามมาตรา 14 (ทหารกองหนุนมีเบี้ยหวัดส่งคืน) *** ไม่เป็นรายได้ที่ต้องนำส่งคลังตามกฎหมาย ***

หลักเกณฑ์ Undo

ข้าราชการ (ที่เป็นสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ) 1. ให้ใช้สิทธิเลือก **ตั้งแต่วันที่กฎหมาย มีผลใช้บังคับ** ถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 2. มีสิทธิได้รับเงินสะสม และดอกผล คืนจาก กบข. ตั้งแต่วันที่หมดสมาชิกภาพ กบข. (1 ตุลาคม 2557) 3. ไม่มีสิทธิได้รับเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสบทบ และดอกผลของเงินดังกล่าว แต่จะนำไปใส่ใน บัญชีเงินสำรอง เพื่อใช้ในการบริหารจัดการ ภาระบำนาญต่อไป

4. สมาชิกภาพสิ้นสุดลงนับตั้งแต่วันถัดจาก วันที่ 30 กันยายน 2557 คือวันที่ 1 ตุลาคม 2557 5. เมื่อออกจากราชการไม่ว่ากรณีใด และมีสิทธิรับ บำนาญ จะได้รับบำนาญสูตรเดิมจนถึงวันที่เสียชีวิต 6. ข้าราชการที่มีเวลาราชการเหลืออยู่ไม่ถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 เนื่องจากจะออกจากราชการ ไม่ว่ากรณีใด(ขอลาออก หรือ ถูกสั่งให้ออก)ให้ใช้ สิทธิเลือกได้ ***ก่อนวันออกจากราชการนั้น*** แล้วแต่กรณี (วันที่ขอลาออก หรือวันที่ถูกสั่งให้ออก)

7. หากแสดงความประสงค์ไว้แล้ว และถึงแก่ความตาย ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2557 หรือ ก่อนวันออกจาก ราชการไม่ว่ากรณีใด (วันที่ขอลาออก หรือ วันที่ถูกสั่งให้ออก) แล้วแต่กรณี ให้ถือว่าการแสดง ความประสงค์นั้นไม่มีผลใช้บังคับ (เป็นอันสิ้นผล)

ข้าราชการ วันที่กฎหมาย ใช้บังคับ 30 กันยายน 2557 เลือก Undo เลือก Undo วันที่ขอออก หรือถูกสั่งให้ออกจากราชการ 30 กันยายน 2557 เลือก Undo เลือก Undo แจ้ง กบข.โอนเงินในบัญชีเงินรายบุคคลเข้าบัญชี เงินสำรอง และจ่ายเงินสะสม+ดอกผลให้ผู้มีสิทธิ ออกจากราชการ ได้รับบำนาญ สูตรเดิม วันที่เลือก Undo วันที่เลือก Undo กฎหมายบำเหน็จบำนาญ ไม่มีผลใช้บังคับ ไม่มีผลใช้บังคับ กฎหมาย กบข. กฎหมาย กบข. วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. สิ้นสุดลง สมาชิกภาพ กบข. สิ้นสุดลง

ที่เป็นสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ ข้าราชการ ข้าราชการที่ออกจากราชการเพื่อไปปฏิบัติงานตาม พรฎ. ว่าด้วยการกำหนดหลักเกณฑ์การสั่งให้ข้าราชการไปทำการซึ่งให้นับเวลาระหว่างนั้นเหมือนเต็มเวลาราชการ ข้าราชการซึ่งออกจากราชการเพื่อไปรับราชการทหาร ข้าราชการซึ่งถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน ข้าราชการซึ่งอยู่ในระหว่างร้องทุกข์ หรืออุทธรณ์ค่ำสั่ง ให้ออก ปลดออก หรือไล่ออกจากราชการ ที่เป็นสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ

เป็นข้าราชการ กบข. อยู่ก่อนวันที่กฎหมาย กบข เป็นข้าราชการ กบข.อยู่ก่อนวันที่กฎหมาย กบข. Undo ใช้บังคับ และกลับเข้ารับราชการใหม่หลังวันที่ 30 กย. 57 ให้แสดงความประสงค์ได้ภายใน 60 วัน นับแต่วันที่กลับเข้ารับราชการ วันที่ 30 กันยายน 57 วันที่กฎหมายใช้บังคับ 60 วัน

ผู้รับบำนาญ (ยังมีชีวิตอยู่ และเป็นสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ) 1. ให้ใช้สิทธิเลือก ตั้งแต่ ***วันที่กฎหมาย มีผลใช้บังคับ*** ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2557 2. ไม่ต้องคืนเงินสะสมและผลประโยชน์ที่ได้รับไปแล้ว (ที่มีสิทธิได้รับในวันที่ออกจากราชการ) 3. ต้องคืนเงินประเดิม เงินชดเชย เงินสบทบ และ ดอกผลของเงินดังกล่าวที่ได้รับไปแล้วให้รัฐ โดยวิธีหักกลบลบกัน (ที่มีสิทธิได้รับในวันที่ออกจากราชการ) 4. ได้รับบำนาญสูตรเดิมย้อนหลังตั้งแต่วันที่ออกจาก ราชการถึงวันที่ 30 กันยายน 2557 โดยวิธีหักกลบลบกัน

5.2 หากมีส่วนต่างที่รัฐต้องจ่ายคืน รัฐจะจ่ายคืนให้ 5. เมื่อหักกลบลบกันแล้ว 5.1 หากมีส่วนต่างต้องชำระคืนให้รัฐ ให้ชำระคืน ภายใน 30 มิถุนายน 2557 5.2 หากมีส่วนต่างที่รัฐต้องจ่ายคืน รัฐจะจ่ายคืนให้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงการคลัง กำหนด (ตั้งแต่ ตุลาคม 2557 เป็นต้นไป) ให้ผู้รับบำนาญตาม 5.1 คืนเงินให้รัฐผ่าน ส่วนราชการของตน เพื่อนำส่งต่อให้กรมบัญชีกลาง เงินที่ได้รับคืนไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน และให้รัฐโดยกรมบัญชีกลางสามารถนำเงินที่ได้รับคืน จากผู้รับบำนาญตาม 5.1 ไปจ่ายคืนให้ผู้รับบำนาญ ตาม 5.2 ได้ ส่วนที่เหลือให้นำส่งเข้าบัญชีเงินสำรอง

6. หากแสดงความประสงค์ไว้แล้ว และถึงแก่ความตาย ก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2557 ให้ถือว่าการแสดง ความประสงค์นั้น ไม่มีผลใช้บังคับ (เป็นอันสิ้นผล) และหากได้คืนเงินตาม 5.1 ให้รัฐแล้ว รัฐจะคืนเงิน ดังกล่าวให้กับทายาทต่อไป 7. จะได้รับบำนาญสูตรเดิมตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2557 เป็นต้นไปจนถึงวันที่เสียชีวิต

สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. สิ้นสุดลง ผู้รับบำนาญ วันที่กฎหมาย ใช้บังคับ วันที่ 30 กันยายน 57 เลือก Undo 30 มิย. 57 วันที่เลือก Undo คืนเงิน ได้เงินคืน ได้บำนาญสูตรเดิม กฎหมายบำเหน็จบำนาญ ไม่มีผลใช้บังคับ กฎหมาย กบข. กฎหมาย กบข. วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. สิ้นสุดลง

ทหารที่ออกจากกองหนุน เบี้ยหวัดเพื่อรับบำเหน็จบำนาญเหตุทดแทน ผู้รับเบี้ยหวัด ทหารที่ออกจากกองหนุน เบี้ยหวัดเพื่อรับบำเหน็จบำนาญเหตุทดแทน ที่เป็นสมาชิก กบข. โดยสมัครใจ

กรณีวันพ้นจากกองหนุนมีเบี้ยหวัด ภายหลัง 1 ตุลาคม 2557 กรณีวันพ้นจากกองหนุนมีเบี้ยหวัด ภายหลัง 1 ตุลาคม 2557 วันที่ 30 กันยายน 57 วันที่กฎหมายใช้บังคับ ได้รับเบี้ยหวัดและได้รับ เงินสะสม/สมทบและผลประโยชน์จาก กบข. ไปแล้ว เลือก Undo พ้นจากกองหนุนมีเบี้ยหวัด 30 มิย. 57 วันที่เลือก Undo คืนเงินสมทบ+ ผลประโยชน์ (ไม่มีกรณีได้เงินคืน) กบข. ส่ง เงินประเดิม เงินชดเชย +ผลประโยชน์ เข้าบัญชีเงินสำรอง ได้บำนาญสูตรเดิมจนเสียชีวิต กฎหมายบำเหน็จบำนาญ ไม่มีผลใช้บังคับ กฎหมาย กบข. กฎหมาย กบข. วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. สิ้นสุดลง

กรณีวันพ้นจากกองหนุนมีเบี้ยหวัด ก่อน 30 มิถุนายน 2557 กรณีวันพ้นจากกองหนุนมีเบี้ยหวัด ก่อน 30 มิถุนายน 2557 วันที่พ้นจากกองหนุน มีเบี้ยหวัด วันที่ 30 กันยายน 57 วันที่กฎหมายใช้บังคับ ได้รับเบี้ยหวัดและได้รับ เงินสะสม/สมทบและผลประโยชน์จาก กบข. ไปแล้ว เลือก Undo 30 มิย. 57 วันที่เลือก Undo คืนเงินสบทบ+ผลประโยชน์ (ไม่มีกรณีได้เงินคืน) ได้บำนาญสูตรเดิมจนเสียชีวิต กบข. ส่ง เงินประเดิม เงินชดเชย +ผลประโยชน์ เข้าบัญชีเงินสำรอง กฎหมายบำเหน็จบำนาญ กฎหมายบำเหน็จบำนาญ ไม่มีผลใช้บังคับ กฎหมาย กบข. กฎหมาย กบข. วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. ยังมีอยู่ สมาชิกภาพ กบข. สิ้นสุดลง

หลักเกณฑ์ Redo

Redo แบบเดินหน้า การรับสมัคร การคำนวณเงินประเดิม การได้รับเงินชดเชย การสะสมเงิน การได้รับเงินสบทบ ตั้งแต่ กม.มีผลบังคับใช้ ถึง 30 ก.ย. 2557 หรือ ภายใน 60 วันนับแต่วันกลับเข้ารับราชการ (แล้วแต่กรณี) เริ่มรับราชการ ถึง30 ก.ย. 2557 1 ต.ค. 2557 ทุกประเด็นเริ่มต้นที่ 1 ตุลาคม 2557 ยกเว้นประเด็นรับสมัครและคำนวณ เงินประเดิม เริ่มต้นที่ 30 กันยายน 2557

รวมเงินประเดิมทั้งสิ้นกรณี Redo ช่วงที่ 1 ช่วงที่ 2 ช่วงที่ 3

ผลที่เกิดขึ้น เงินประเดิม ข้าราชการ Do ข้าราชการ Redo ปี 40 ปี 58 เงินประเดิม+ผลประโยชน์ เงินชดเชย+ผลประโยชน์ เริ่มรับราชการ – 30 กย. 57 เริ่มรับราชการ – 30 กย. 57 Fact จาก Statement กบข. ณ 30 กย. 57 ผลการคำนวณเงินประเดิม ช่วงที่ 1 - 3

Redo วันที่ประกาศ ให้ Redo 30 กันยายน 2557 เลือก Redo วันที่เลือก Redo คำนวณเงินประเดิม ส่งเข้า กบข. เริ่มต้นส่งเงินชดเชย เงินสะสมและสบทบ เข้า กบข. วันที่เลือก Redo ออกจากราชการได้รับบำบาญ สูตร กบข. และเงินก้อนจาก กบข. กฎหมาย 2494 กฎหมาย 2494 กฎหมาย 2494 กฎหมายกบข. วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต วันที่เสียชีวิต ยังไม่มีสมาชิกภาพ กบข. ยังไม่มีสมาชิกภาพ กบข. ยังไม่มีสมาชิกภาพ กบข. ไม่มีสถานภาพสมาชิก กบข. สมาชิกภาพ กบข. เริ่มต้น

-ร่าง- หลักเกณฑ์และวิธีการ แสดงความประสงค์ ขอใช้สิทธิรับบำนาญ ตาม พ. ร -ร่าง- หลักเกณฑ์และวิธีการ แสดงความประสงค์ ขอใช้สิทธิรับบำนาญ ตาม พ.ร.บ.บำเหน็จบำนาญ ข้าราชการ พ.ศ. 2494 ...

ร่างหลักเกณฑ์และวิธีการแสดงความประสงค์ 1. กรณีข้าราชการ Undo 2. กรณีผู้รับบำนาญ/ผู้รับเบี้ยหวัด Undo 3. กรณีข้าราชการ Redo **สำหรับสมาชิก กบข. แบบสมัครใจ** (รับราชการก่อนวันที่ 27 มีนาคม 2540)

กรณีข้าราชการ Undo 1.ข้าราชการ - ยื่นแบบแสดงความประสงค์ (แบบ ข.1) ที่ส่วนราชการต้นสังกัด - พร้อมสำเนาบัญชีเงินฝากธนาคารตนเอง (ยกเว้นบัญชีเงินฝากประจำ หรือบัญชีร่วมกับผู้อื่น) - ภายในวันที่ 30 ก.ย. 2557 (กรณีปกติ) - ก่อนวันออกจากราชการ (กรณีออกก่อน 30 ก.ย.57) - ภายใน 60 วันหลังจากกลับมาปฏิบัติราชการ (ออกและกลับเข้ารับราชการหลัง 30 ก.ย. 57)

กรณีข้าราชการ Undo 2.ส่วนราชการผู้เบิก - ถ่ายสำเนาแบบ ข.1 + รับรองสำเนาให้ ข้าราชการใช้เป็นหลักฐานในวันยื่นแบบ 1 ชุด - บันทึกข้อมูลในระบบ e-pension + ออกใบรับแบบ (แบบ ข.2) พิมพ์ให้ข้าราชการ 1 ชุด - รวบรวมแบบ ข.1 + ออกใบสรุปรายชื่อ ส่งให้กรมบัญชีกลาง หรือ สนง.คลังจังหวัด อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง ส่งทุกวันที่ 1 และ 15 หรือ ตามความเหมาะสม

กรณีข้าราชการ Undo 3.สำนักงานคลังจังหวัด - ตรวจสอบความถูกต้องของ แบบ ข.1 - ออกใบรับรองสิทธิ (แบบ ข.3) ส่งให้ส่วนราชการผู้เบิกเพื่อตรวจสอบ และส่งต่อให้ข้าราชการ - ส่งข้อมูลและออกรายงานสรุปรายชื่อฯ จากระบบ e-pension ให้กรมบัญชีกลาง - เก็บรักษาแบบ ข.1 ไว้ที่สำนักงาน

กรณีข้าราชการ Undo 4.กรมบัญชีกลาง - สรุปรายชื่อข้าราชการส่งให้ กบข. ผ่านระบบ e-pension 5. กบข. - โอนเงินเข้าบัญชีเงินฝากให้ข้าราชการ (เงินสะสม + ผลประโยชน์) - โอนเงินเข้าบัญชีเงินสำรอง (เงินประเดิม + เงินชดเชย + เงินสมทบ + ผลประโยชน์)

กรณีผู้รับบำนาญ/ผู้รับเบี้ยหวัด Undo 1. กรณีผู้รับบำนาญ - ยื่นแบบแสดงความประสงค์ (แบบ บ.1) ที่ส่วนราชการต้นสังกัด ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2557 1. กรณีผู้รับเบี้ยหวัด ภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2557 หรือ ก่อนวันย้ายประเภท (ย้ายไปเป็นผู้รับบำนาญเหตุทดแทน) แล้วแต่กรณี

กรณีผู้รับบำนาญ/ผู้รับเบี้ยหวัด Undo 2.ส่วนราชการผู้เบิก - ถ่ายสำเนาแบบ บ.1 + รับรองสำเนาให้ผู้รับบำนาญ /ผู้รับเบี้ยหวัด ใช้เป็นหลักฐานในวันยื่นแบบ 1 ชุด - บันทึกข้อมูลในระบบ e-pension + ออกใบรับแบบ กรณีได้รับเงินคืน พิมพ์แบบ บ.2 ให้ผู้รับบำนาญ 1 ชุด กรณีต้องส่งเงินให้รัฐ พิมพ์แบบ บ.3 ให้ผู้รับบำนาญ 1 ชุด (ผู้รับบำนาญต้องส่งเงินคืนภายใน 30 มิ.ย. 57) กรณีผู้รับเบี้ยหวัด พิมพ์แบบ บ.7 ให้ผู้รับเบี้ยหวัด 1 ชุด (คืนเงินภายใน 30 มิ.ย.57) - ออกใบเสร็จรับเงินให้แก่ผู้รับบำนาญ/ผู้รับเบี้ยหวัด และ นำเงินฝากเข้าบัญชีกระแสรายวัน ชื่อบัญชี “รับเงิน Undo (ชื่อส่วนราชการ)” - ถอนเงินทุกวันที่ 1 และ 15 ของทุกเดือนและทำใบฝากเงิน (pay-in slip) นำเงินดังกล่าวฝากคลัง เข้าบัญชี “เงินรับคืนของกรมบัญชีกลาง”+บันทึก GFMIS - รวบรวมแบบ บ.1 + ออกใบสรุปรายชื่อ + pay-in slip ส่งให้กรมบัญชีกลาง หรือ สนง.คลังจังหวัด อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง ส่งทุกวันที่ 1 และ 15 หรือ ตามความเหมาะสม

กรณีผู้รับบำนาญ/ผู้รับเบี้ยหวัด Undo 3.สำนักงานคลังจังหวัด (กรณีผู้รับบำนาญ) - ตรวจสอบความถูกต้องของ แบบ บ.1 - ออกใบรับรองสิทธิ กรณีได้รับเงินส่วนเพิ่ม (แบบ บ.4) กรณีนำเงินมาคืน (แบบ บ.5) ส่งให้ส่วนราชการผู้เบิกเพื่อตรวจสอบและส่งต่อ ให้ผู้รับบำนาญ - ส่งข้อมูลและออกรายงานสรุปรายชื่อผู้รับบำนาญ ทั้งกรณีได้รับเงินเพิ่ม/กรณีต้องนำเงินมาคืนส่งให้กรมบัญชีกลาง - เก็บรักษาแบบ บ.1 ไว้ที่สำนักงาน

กรณีผู้รับบำนาญ/ผู้รับเบี้ยหวัด Undo 3.สำนักงานคลังจังหวัด (กรณีผู้รับเบี้ยหวัด) - ตรวจสอบความถูกต้องของ แบบ บ.1 - ออกใบรับรองสิทธิ (แบบ บ.8) กรณีนำเงินมาคืน (เงินสมทบ + ผลประโยชน์) ส่งให้ส่วนราชการผู้เบิกเพื่อตรวจสอบและส่งต่อให้ ผู้รับเบี้ยหวัด - ส่งข้อมูลและออกรายงานสรุปรายชื่อผู้เบี้ยหวัด กรณีต้องนำเงินมาคืนส่งให้กรมบัญชีกลาง - เก็บรักษาแบบ บ.1 ไว้ที่สำนักงาน

กรณีผู้รับบำนาญ/ผู้รับเบี้ยหวัด Undo 4.ทายาท กรณีผู้รับบำนาญ/กรณีผู้รับเบี้ยหวัด - ถึงแก่ความตายก่อนวันที่ 1 ตุลาคม 2557 - ผู้มีสิทธิรับมรดก(ทายาท) ยื่นแบบ บ.6 เพื่อขอรับเงินคืน ยื่นต่อส่วนราชการผู้เบิก

กรณีผู้รับบำนาญ/ผู้รับเบี้ยหวัด Undo 5.กรมบัญชีกลาง - กรณีผู้รับบำนาญได้รับเงินส่วนเพิ่ม จะโอนเข้าเงินเข้าบัญชี เงินฝากธนาคารของผู้รับบำนาญที่รับบำนาญอยู่ในปัจจุบัน - แจ้งผลโดยการส่ง SMS หรือ E-mail - สรุปรายชื่อผู้รับบำนาญ/ผู้รับเบี้ยหวัด ส่งให้ กบข. ผ่านระบบฯ - กรณีมีเงินคงเหลือในบัญชีเงินจ่ายคืน จะเบิกเงินส่งให้ กบข. 6. กบข. - กรณีได้รับเงินคงเหลือในบัญชีเงินจ่ายคืน จากกรมบัญชีกลางให้โอนเข้าบัญชีเงินสำรอง

กรณีข้าราชการ Redo 1.ข้าราชการ ยื่นแบบ ส.1 ที่ส่วนราชการต้นสังกัด กรณีปกติ -ให้ยื่นแบบ ส.1 ภายในวันที่ 30 ก.ย. 2557 (มีผลตั้งแต่ 1 ต.ค. 57) กรณีออกจากราชการฯ เพื่อไป... 1. ได้รับอนุมัติจาก ครม.ให้ปฏิบัติงานใด ๆ ตาม พรฎ. 2.ไปรับราชการทหาร 3.ถูกสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน 4.อยู่ระหว่างร้องทุกข์ หรืออุทธรณ์คำสั่งฯ และกลับเข้ารับราชการหลัง 30 ก.ย. 2557 - ให้ยื่นแบบ ส.1 ภายใน 60 วันหลังจากกลับมาปฏิบัติราชการ (มีผลตั้งแต่วันที่ยื่นแบบ ส.1)

กรณีข้าราชการ Redo 2.ส่วนราชการผู้เบิก - ถ่ายสำเนาแบบ ส.1 + รับรองสำเนาให้ ข้าราชการใช้เป็นหลักฐานในวันยื่นแบบ 1 ชุด - บันทึกข้อมูลในระบบ e-pension + ออกใบรับแบบ (แบบ ส.2) ให้ข้าราชการ 1 ชุด - รวบรวมแบบ ส.1 + ออกใบสรุปรายชื่อ ส่งให้กรมบัญชีกลาง หรือ สนง.คลังจังหวัด อย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง ส่งทุกวันที่ 1 และ 15 หรือตามความเหมาะสม

กรณีข้าราชการ Redo 3.สำนักงานคลังจังหวัด - ตรวจสอบความถูกต้องของ แบบ ส.1 - ออกใบรับรองการสมัครเป็นสมาชิก กบข. (แบบ ส.3) ส่งให้ส่วนราชการผู้เบิก เพื่อตรวจสอบและส่งต่อให้ข้าราชการ -ส่งข้อมูลและออกรายงานสรุปรายชื่อข้าราชการ จากระบบ e-pension ส่งให้กรมบัญชีกลาง - เก็บรักษาแบบ ส.1 ไว้ที่สำนักงาน

กรณีข้าราชการ Redo 4.กรมบัญชีกลาง - สรุปรายชื่อข้าราชการส่งให้ กบข. ผ่านระบบ e-pension - คำนวณเงินประเดิม + เบิกเงินประเดิม ส่งให้ กบข. 5. กบข. - โอนเงินประเดิมเข้าบัญชีรายบุคคลให้ ข้าราชการ

ประเด็นเพิ่มเติม คิดเฉพาะเงินบำนาญเท่านั้น ไม่นำ ชคบ. และเงินบำเหน็จดำรงชีพครั้งที่ 1 และ 2 ที่ได้รับไปแล้ว มารวมคำนวณในขั้นตอนการขอ Undo แต่จะนำมาคิดคำนวณให้ในภายหลัง ไม่คิดดอกเบี้ยทั้งในส่วนของเงินก้อนที่จะต้องคืน และ ผลต่างเงินบำนาญที่จะได้รับคืน Undo กับผู้รับบำนาญสมาชิก กบข. ที่มีเวลาทวีคูณ แล้วไม่ได้แจ้ง *** ให้แจ้งเสียแต่เนิ่น ๆ เพื่อประโยชน์ในการคำนวณเงินหักกลบลบกัน และบำนาญสูตร 2494 ที่จะได้รับต่อไป เงินก้อนที่ได้รับจาก กบข. หรือกรมบัญชีกลาง แล้วแต่กรณี ได้รับการยกเว้นภาษี ตามมติ ครม. (ที่นำไปใช้ประโยชน์ในการลดหย่อนภาษีก็ไม่ต้องคืน)

แนวปฏิบัติ การเตรียมความพร้อม “ประชาสัมพันธ์ให้ข้าราชการ ผู้รับบำนาญ ผู้รับเบี้ยหวัด ในสังกัดทราบ”

วิธีการตรวจสอบ ประมาณการ ในระบบ Undo

วิธีการตรวจสอบประมาณการในระบบ Undo

วิธีการตรวจสอบประมาณการในระบบ Undo สั่งพิมพ์ ให้ระบุ : เลขประจำตัวประชาชน และ วันเดือนปีเกิด

กรณีข้อมูลสำหรับ Undo ครบถ้วน (ต้องส่งคืนเงิน)

กรณีข้อมูลสำหรับ Undo ครบถ้วน (ได้รับเงินคืน)

ตัวอย่าง กรณีได้รับเงิน กรณีต้องคืน สมมุติ สมมุติ บำนาญสูตร กบข. = 25,000 บำนาญสูตร ปกติ = 32,000 ออกจากราชการมา 10 ปี (120 เดือน) บำนาญสูตร กบข. 3,000,000 บำนาญสูตร ปกติ 3,840,000 ผลต่าง 840,000 หัก เงินที่รับไป จาก กบข. แล้ว 400,000 จะได้รับเงินจากรัฐ 440,000 ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 57 จะได้บำนาญ 32,000 ไปตลอดชีวิต กรณีต้องคืน สมมุติ บำนาญสูตร กบข. = 20,000 บำนาญสูตร ปกติ = 23,000 ออกจากราชการมา 5 ปี (60 เดือน) บำนาญสูตร กบข. 1,200,000 บำนาญสูตร ปกติ 1,380,000 ผลต่าง 180,000 หัก เงินที่รับไป จาก กบข. แล้ว 280,000 ต้องนำเงินมาคืนรัฐ 100,000 ตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค. 57 จะได้บำนาญ 23,000 ไปตลอดชีวิต

การให้คำปรึกษา เบื้องต้นและวิธีแก้ไข ปัญหา

ส่วนราชการต้นสังกัด ตรวจสอบข้อมูลที่ระบบ Undo เพื่อสอบถามประมาณการ ปรากฏว่า 1. ไม่อยู่ในหลักเกณฑ์ Undo 2. ไม่สามารถสอบถามข้อมูลได้ เนื่องจากข้อมูลไม่ครบถ้วน

ส่วนราชการต้นสังกัด สอบถามบัตรกลางว่ามีข้อมูลอะไรบ้าง - ให้ตรวจสอบที่ระบบบำเหน็จบำนาญ สอบถามบัตรกลางว่ามีข้อมูลอะไรบ้าง - หากข้อมูลในบัตรกลางไม่ครบถ้วน ให้ส่วนราชการผู้เบิกและผู้รับบำนาญ ให้ดำเนินการ ดังนี้ 1. หาหลักฐานมาแสดงให้ครบถ้วน เช่น หนังสือสั่งจ่ายบำนาญ สมุดประวัติ (ก.พ.7) หนังสือแจ้งการโอนเงินจาก กบข. ฯลฯ 2. ส่งหลักฐานดังกล่าวไปให้ กรมบัญชีกลาง สำนักบริหารการรับ- จ่ายเงินภาครัฐ

ส่วนราชการต้นสังกัด 1. หากพบว่าฐานข้อมูลกลางไม่ถูกต้อง เช่น ประเภทขอรับเงินเป็น 03, 14 - ประเภท 03 คือ บำนาญปกติ (พ.ร.บ.2494) - ประเภท 14 คือ บำเหน็จดำรงชีพ (ติดต่อส่วนราชการผู้เบิก+หลักฐาน เพื่อส่งให้กรมบัญชีกลางแก้ไข) 2. หากพบว่าฐานข้อมูลกลางถูกต้อง คือ ประเภทขอรับเงินเป็น 11, 15 แต่ข้อมูลอื่น ๆ เกี่ยวกับการคำนวณไม่ครบถ้วน เช่น ไม่มีเงินเฉลี่ย 60 เดือน / ไม่มีเวลาราชการ - ประเภท 11 คือ บำนาญสมาชิก กบข. - ประเภท 15 คือ บำเหน็จดำรงชีพสมาชิก กบข. 3. สำหรับกรณีฐานข้อมูลไม่ถูกต้อง ไม่มีหลักฐานใด ๆ ให้รวบรวมรายชื่อส่งสำนักบริหารการรับ-จ่ายเงินภาครัฐ กรมบัญชีกลาง (แนะนำให้ติดต่อ กบข. เพื่อขอสำเนาหนังสือสั่งจ่ายบำนาญ ก่อน)

ส่วนราชการต้นสังกัด 4. กรณีผู้รับบำนาญมีเวลาราชการทวีคูณ หรือได้ปรับฐานเงินเดือน ให้รีบดำเนินการขอรับบำนาญเพิ่มก่อนเข้าโครงการ Undo (ติดต่อส่วนราชการผู้ขอ เพื่อยื่นแบบ 5316 ขอรับบำนาญเพิ่มเติม) 5. เรื่องอื่น ๆ ติดต่อส่วนราชการผู้เบิก - การเปลี่ยนแปลงส่วนราชการผู้เบิก - การเปลี่ยนแปลงเลขที่บัญชีเงินฝากธนาคาร ติดต่อนายทะเบียนผู้รับบำเหน็จบำนาญ - การปรับปรุงฐานข้อมูลของผู้รับบำนาญ - การเปลี่ยนแปลงที่อยู่ - การบันทึกทายาท/ผู้อยู่ในอุปการะให้ครบถ้วน - การแสดงเจตนาผู้รับบำเหน็จตกทอด - การแสดงเจตนาผู้ได้รับเงินช่วยพิเศษกรณีเสียชีวิต

Q&A

กรมบัญชีกลาง โทร. 02 127 7000 Call Center สำนักกฎหมาย กลุ่มงานกฎหมายและระเบียบด้านเงินเดือน ค่าจ้าง บำเหน็จบำนาญ ต่อเบอร์ 4361 4383 4443 หรือ 6847 สำนักบริหารการรับ – จ่ายเงินภาครัฐ ส่วนบริหารการจ่ายเงิน 1 ต่อเบอร์ 4512 4532 4538 หรือ 4509 ส่วนบริหารการจ่ายเงิน 2 4246 4247 4248 หรือ 4250 ส่วนบริหารการจ่ายเงิน 3 6200 6203 6206 หรือ 6208 ส่วนบริหารการจ่ายเงิน 4 4210 4213 4340 หรือ 6401 Call Center โทร. 02 270 6400 - 3