A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting).
Advertisements

รายละเอียดวิชา ง การงานพื้นฐาน4(คอมพิวเตอร์2)
Interactive E-learning
ปฐมนิเทศ การเขียนโปรแกรม ง30202.
ซอฟต์แวร์.
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
ระบบเตือนการนัดหมาย ทางการแพทย์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Thesis รุ่น 1.
การเรียงลำดับและการค้นหาแบบง่าย
เรื่อง องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จำทำโดย นาย เดชฤทธิ์ ร้อยพรหมมา
การจัดเรียงข้อมูล Sorting.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี อ.เลาขวัญ งามประสิทธิ์
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
ซอฟต์แวร์.
หลักการทำงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
การเตรียมเอกสาร สอบหัวข้อโครงงาน
การประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรม
การวางแผนและการดำเนินงาน
ระบบข้อสอบออนไลน์.
ระบบจัดเก็บค่าน้ำประปา
The automated web application testing (AWAT) system
โครงการประถมฐานบิน -การจัดการฐานข้อมูลเงินสวัสดิการครูโรงเรียนประถมฐานบินกำแพงแสน-
แบบทดสอบก่อนเรียน วิชา โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การพัฒนาระบบการจัดการฐานข้อมูลการขนส่งน้ำมันกรณีศึกษาบริษัทแสงชัยโชค.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี อ.เลาขวัญ งามประสิทธิ์
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยหลักการแล้วจะประกอบด้วย 5 ส่วน คือ องค์ประกอบด้านฮาร์ดแวร์ องค์ประกอบด้านซอฟท์แวร์ หน่วยงานหรือตัวบุคคล วิธีการปฏิบัติงาน.
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง โปรแกรมคำนวณหาค่า tan
โครงงานคอมพิวเตอร์ โปรแกรมการคำนวณพื้นที่วงกลม
การจัดเรียงข้อมูล Sorting Internal Sorting External Sorting.
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
บทที่ 7 การเรียงลำดับภายนอก External sorting
เทคนิคการเรียงลำดับ Sorting Techniques
วิธีการทางคอมพิวเตอร์
เรื่ององค์ประกอบคอมพิวเตอร์
เรื่อง คอมพิวเตอร์กับการประมวลผลข้อมูล
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ ครูสุวรรณ์ พิมเสน ครู คศ
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ เรื่อง. หลักการทำงาน และ
ชื่อหัวข้อโครงงาน (ภาษาไทย) Project Title (English)
บทที่ 6 การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การออกแบบระบบ การประเมินทางเลือกซอฟท์แวร์
วิธีดำเนินการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
กระบวนการวิจัย Process of Research
การจัดการฐานข้อมูล.
ใส่ชื่อเรื่องงานวิจัย กะทัดรัด มีตัวแปรต้น ตัวแปรตาม อย่างชัดเจน
นาย กตัญญู ใจอารีย์ นาย ณัฐพงศ์ สองทอง ระบบคอมพิวเตอร์
นางสาวอังคณา วิศาลนิตย์ วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
บทที่ 1 ระบบคอมพิวเตอร์.
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบ (System) คือกลุ่มขององค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันและทำงานร่วมกัน ซึ่งระบบคอมพิวเตอร์จะมีองค์ประกอบที่สำคัญ 3 ส่วน คือ ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
ระบบคอมพิวเตอร์ (computer system)
นายทศพิธ แป้นดวงเนตร วิทยาลัยเทคโนโลยีศรีธนาพณิชยการ เชียงใหม่
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การจัดเรียงข้อมูล (sorting)
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
แผนภูมิองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบัติการ รหัสวิชา Computer Technology and Operating System บทที่ 1 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อ.รจนา วานนท์ Master.
1. ศึกษาการนำเสนอที่หลากหลาย 2. เลือกวิธีการที่เหมาะสม
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
การวางแผนและการเขียนโครงการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

A Comparison on Quick and Bubble sort on large scale data

จัดทำโดย นายชนาธิป ใจดี รหัสนิสิต 54160238 คณะวิทยาการสารสนเทศ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ

หัวข้อที่จะนำเสนอ ที่มาของปัญหา วัตถุประสงค์ของโครงงาน แนวทางการพัฒนาโครงงาน ขอบเขตของโครงงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน เวลาที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน 3

ที่มาของปัญหา ในปัจจุบันขั้นตอนวิธีสำหรับแก้ปัญหาการจัดเรียงข้อมูลมีการค้นคิดขึ้นมามากมายหลายวิธี ซึ่งการจัดเรียงข้อมูลทางคอมพิวเตอร์แบ่งเป็นประเภทหลักๆได้ 2 ประเภท คือ การจัดเรียงภายในและการจัดเรียงภายนอก การจัดเรียงภายใน (Internal sorting) คือ การจัดเรียงข้อมูลทั้งหมดถูกเก็บไว้ในหน่วยความจำหลัก (Ram) การจัดเรียงแบบนี้ได้แก่ การจัดเรียงแบบบับเบิล (Bubble sort), การจัดเรียงแบบแทรก (Insertion sort), การจัดเรียงแบบเลือก (Selection sort), การจัดเรียงแบบเซลล์ (Shell sort), การจัดเรียงแบบเรดิกซ์ (Radix sort), การจัดเรียงแบบเร็ว (Quick sort) เป็นต้น 4

ที่มาของปัญหา (ต่อ) การจัดเรียงภายนอก (External sorting) คือ การจัดเรียงข้อมูลที่ใช้หน่วยความจำสำรองร่วมกับหน่วยความจำหลัก การจัดเรียงแบบนี้ได้แก่ การจัดเรียงแบบผสาน (Merge sort) โครงงานนี้จะกล่าวถึงการจัดเรียงภายในที่มีประสิทธิภาพ คือ Quick กับ Bubble Sort เพราะในปัจจุบันการจัดเรียงภายในถูกใช้ในโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก และการจัดเรียงแบบภายในเป็นวิชาพื้นฐานของการศึกษาด้านคอมพิวเตอร์ วิธีการจัดเรียงภายในหลาย ๆ วิธีต่างมีข้อดี ข้อเสีย และแนวทางการปรับปรุงประสิทธิภาพที่แตกต่างกัน โครงงานนี้เป็นการเปรียบเทียบการจัดเรียงข้อมูลแบบ Quick กับ Bubble Sort บนข้อมูลที่มีขนาดใหญ่เพื่อให้ได้ประสิทธิภาพของการทำงานที่ดีที่สุดกับการเรียงลำดับ 5

วัตถุประสงค์ของโครงงาน เพื่ออธิบายการเรียงลำดับภายในแบบ Quick and Bubble Sort เพื่อศึกษา/ปฏิบัติ เปรียบเทียบการเรียงข้อมูลแบบ Quick and Bubble Sort บนข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ สรุปเปรียบเทียบการทำงานระหว่าง Quick กับ Bubble Sort ตามที่ได้ศึกษาไว้ เพื่อเป็นโครงงานต้นแบบสำหรับโครงงานอื่น ที่ต้องใช้ทฤษฎีพื้นฐานในการจัดทำคล้ายคลึงกัน 6

แนวทางการพัฒนาโครงงาน ศึกษาการทำงานของระบบงานเดิม วิเคราะห์ปัญหาของโครงงาน เขียนโปรแกรมเพื่อใช้เปรียบเทียบ ทดสอบเปรียบเทียบและประเมินผล 7

ขอบเขตของโครงงาน ศึกษาการเปรียบเทียบการจัดเรียงข้อมูลแบบ Quick and Bubble Sort ในโครงงานนี้จะใช้ข้อมูลที่เป็นจำนวนเต็ม และพิจารณาการเรียงแบบค่าน้อยไปมากเท่านั้น ศึกษา/ปฎิบัติ เขียนโปรแกรมการเปรียบเทียบ Quick and Bubble Sort ด้วยภาษา Java ที่ได้ทำการศึกษาไว้ข้างต้น เปรียบเทียบการทำงานระหว่าง Quick กับ Bubble Sort ด้วยผลต่างวัดจากเวลาการทำงาน 8

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ผลการศึกษาเปรียบเทียบระหว่าง Quick กับ Bubble Sort ที่ใช้ข้อมูลหลายๆแบบ ได้ผลสรุปของการเปรียบเทียบของการจัดเรียงแบบ Quick and Bubble Sort เป็นต้นแบบของโครงงานในสาขาที่เกี่ยวข้อง 9

ทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน ด้านฮาร์ดแวร์ (Hardware) หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ความเร็วอย่างน้อย 1 GHz หน่วยความจำหลัก (RAM) มีความจุอย่างน้อย 512 MB หน่วยความจำสำรอง (Hard disk) มีเนื้อที่อย่างน้อย 100 GB ด้านซอฟต์แวร์ (Software) ระบบปฏิบัติการ Windows7 โปรแกรม Eclipse , Netbeans , Notepad++ 10

เวลาที่ใช้ในการดำเนินโครงงาน ขั้นตอนการดำเนินงาน ระยะเวลาการดำเนินงาน (เดือน) ต.ค. 56 พ.ย. 56 ธ.ค. 56 ม.ค. 57 ก.พ. 57 1. ศึกษาโครงสร้างการทำงาน Quick and Bubble Sort 2.วิเคราะห์เปรียบเทียบการทำงานระหว่าง Quick and Bubble Sort 3. ขั้นตอนเขียนโปรแกรม 4. สรุปผลการทดสอบและประเมิน 11

ขอบคุณครับ