ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คณิตคิดเร็วโดยใช้นิ้วมือ
Advertisements

ระบบสมการเชิงเส้น F M B N เสถียร วิเชียรสาร.
โปรแกรมฝึกหัด การเลื่อนและคลิกเมาส์
สื่อการสอน เรื่องการบวก ลบ คูณ หาร ระคน
วิชา องค์ประกอบศิลป์สำหรับคอมพิวเตอร์ รหัส
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
การซ้อนทับกัน และคลื่นนิ่ง
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ.
Computer Programming 1 1.หากต้องการพิมพ์ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ต้องเขียน code อย่างไร (ใช้for)
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
เรื่อง การคูณ สื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดย ครูเพ็ญพิมล สิทธิวรเกียรติ
เปรียบเทียบจำนวนประชากรทั้งหมดจากฐาน DBPop Original กับจำนวนประชากรทั้งหมดที่จังหวัดถือเป็นเป้าหมาย จำนวน (คน) 98.08% % จังหวัด.
จำนวนเต็ม จำนวนเต็ม  ประกอบด้วย                   1. จำนวนเต็มบวก    ได้แก่  1 , 2 , 3 , 4, 5 , ....                   2.  จำนวนเต็มลบ      ได้แก่  -1.
LAB # 3 Computer Programming 1
การเลื่อนเงินเดือนข้าราชการ
จำนวนนับ และการบวก การลบ การคูณ การหารจำนวนนับ
ทศนิยมและเศษส่วน F M B N โดย นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 2 สัดส่วน สัดส่วน หมายถึง ประโยคที่แสดงการเท่ากันของอัตราส่วนสองอัตราส่วน.
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
การตวง ความหมายของการตวง -    การตวง    คือ    การวัดปริมาณของสิ่งของต่างๆหรือหาความจุของภาชนะต่างๆ เครื่องตวง -    เครื่องที่เป็นมาตรฐาน    เช่น   
การหาค่ากำลังสองของเลขที่ลงท้ายด้วย 5
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนบ้านหนองกุง อำเภอนาเชือก
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
Introduction to Digital System
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
จำนวนทั้งหมด ( Whole Numbers )
กศน. สบเมย.. คณิตศาสตร์สุดหรรษา การบวก ลบ คูณ หารระคน.
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
การใช้งานเบื้องต้นของเครื่องคิดเลขทางการเงิน
Kampol chanchoengpan it สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ Arithmetic and Logic Unit 1.
แนวทางการปฏิบัติโครงการจูงมือ น้องน้อยบนดอยสูง 1.
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ณัฏฐวุฒิ เอี่ยมอินทร์
การแยกตัวประกอบพหุนาม
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
วิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่6
F M B N สมบัติของจำนวนนับ ตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.).
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
การสร้างแบบเสื้อและแขน
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง จำนวนอตรรกยะ จำนวนตรรกยะ เศษส่วน จำนวนเต็ม จำนวนเต็มบวก
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
โครงสร้างข้อมูลแบบ สแตก (stack)
การแบ่งแยกและเอาชนะ Divide & Conquer
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 การคิดคำนวณ ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1

หลักการบวกลบโดยแบ่งกลุ่มบวกลบ ให้จัดกลุ่มของตัวเลขออกเป็นกลุ่มบวก และ กลุ่มลบ หาผลรวมของทั้งสองกลุ่มโดยไม่สนใจเครื่องหมาย นำผลรวมทั้งสองกลุ่มมาลบกัน พิจารณาเครื่องหมายของผลลัพธ์ กลุ่มไหนมีมากกว่า ให้ผลลัพธ์มีเครื่องหมายตามนั้น

ตัวอย่างการบวกลบเลขหลายจำนวน ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลลัพธ์ 15 + 13 – 17 – 16 + 11 – 12 วิธีทำ 15 + 13 – 17 – 16 + 11 – 12 = (15+13+11) – (17+16+12) = (39) – (45) = -6 ตอบ -6

ตัวอย่างการบวกลบเลขหลายจำนวน ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลัพธ์ 20 + 12 – 19 – 26 + 14 – 18 + 23 – 31 + 24 วิธีทำ = (20+12+14+23+24)-(19+26+18+31) = (93) – (94) = -1 ตอบ -1

หลักการบวกลบเลขอนุกรม เลขอนุกรมคือการบวกลบเลขที่มีระยะห่างเท่าๆกัน ตลอดทั้งชุด ให้จับคู่จำนวนต้น กับ ปลายและหาผลลัพธ์แต่ละคู่ ให้หาจำนวนคู่ = [(จำนวนมากสุด-จำนวนน้อยสุด)/ ระยะห่าง] + 1 นำจำนวนคู่ คูณกับผลลัพธ์ของแต่ละคู่

ตัวอย่างการบวกลบเลขอนุกรม ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลลัพธ์ 3+6+9+12+15+18+21+24 +27+30+33+36+39+42 วิธีทำ จับคู่หาผลลัพธ์ 3 + 42 = 45 หาจำนวนคู่ = 7 ผลลัพธ์ = 45 × 7 = 315 ตอบ 315

ตัวอย่างการบวกลบเลขอนุกรม ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลัพธ์ 4+8+12+…+96+100 วิธีทำ จับคู่หาผลลัพธ์ 4 + 100 = 104 หาจำนวนคู่=[(100-4)/4]+1=(96/4)+1=24+1=25 ผลลัพธ์ = 104 × 25 = 2600 ตอบ 2600

หลักการหาคำตอบโจทย์ระคน โจทย์ระคนคือโจทย์ที่มีการดำเนินการหลายอย่างทั้ง บวก ลบ คูณ หารและยกกำลัง ถ้ามีวงเล็บกำกับให้ดำเนินตามวงเล็บโดยเลือก ดำเนินการจากวงเล็บที่อยู่ในสุดก่อน ถ้าไม่มีวงเล็บให้เลือกดำเนินการตามลำดับดังนี้ ถ้ามียกกำลังให้ทำลำดับแรกจากซ้ายไปขวา ถ้ามีคูณหรือหาร ให้ทำเป็นอันดับสองจากซ้ายไปขวา ถ้ามีการบวกหรือลบ ให้ทำเป็นอันดับสามจากซ้ายไปขวา

ตัวอย่างการทำโจทย์เลขระคน ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลลัพธ์ 103 + 12 × 5 – 18 ÷ 9 วิธีทำ = 1000 + 12 × 5 – 18 ÷ 9 = 1000 + 60 - 18 ÷ 9 = 1000 + 60 - 2 = 1060 – 2 = 1058 ตอบ 1058

ตัวอย่างการทำโจทย์เลขระคน ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลลัพธ์ 8 × 52 + 30 ÷ 15 – 20 วิธีทำ = 8 × 25 + 30 ÷ 15 – 20 = 100 + 30 ÷ 15 – 20 = 100 + 2 – 20 = 102 – 20 = 82 ตอบ 82

ตัวอย่างการบวกเลขโดยมีวงเล็บ จงหาผลลัพธ์ [15 × {30 ÷ (2 + 4)}] วิธีทำ = [15 × {30 ÷ (2 + 4)}] = [15 × {30 ÷ 6}] = [15 × 5] = 75 ตอบ 75

การคำนวณโดยใช้สัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ สัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ เป็นจำนวนที่เขียนอยู่ ในรูปการคูณกับเลขยกกำลังฐานสิบ จะนำมาบวกลบกันได้จะต้องทำให้เลขชี้กำลัง เท่ากัน

ตัวอย่างการคำนวณโดยใช้สัญกรณ์ จงหาผลลัพธ์ของ 12 × 108 + 7 × 109 วิธีทำ 12 × 108 + 7 × 109 = 12 × 108 + 70 × 108 = (12 + 70) × 108 = 82 × 108 ตอบ 82 × 108

ตัวอย่างการคำนวณโดยใช้สัญกรณ์ จงหาผลลัพธ์ของ 2.1 × 1014 - 8 × 1013 วิธีทำ 2.1 × 1014 - 8 × 1013 = 21 × 1013 - 8 × 1013 = (21 - 8) × 1013 = 13 × 1013 ตอบ 13 × 1013